Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/743
Title: EFFECTS OF BEHAVIORAL MODIFICATION PROGRAMS OF THE SOLID WASTE MANAGEMENT IN MUANGYAI SUBDISTRICT,WIANG KAEN DISTRICT,CHIANGRAI PROVINCE.
ผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการมูลฝอย ตำบลม่วงยาย อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
Authors: Pondhathai Thepwai
พรหทัย เทพไหว
Patipat Vongruang
ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง
University of Phayao
Patipat Vongruang
ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง
patipat.vo@up.ac.th
patipat.vo@up.ac.th
Keywords: พฤติกรรมการจัดการมูลฝอย
การคัดแยกมูลฝอย
หลัก 5Rs
จังหวัดเชียงราย
solid waste management behavior
solid waste separation
5Rs
Chiang Rai
Issue Date:  7
Publisher: University of Phayao
Abstract: The study's objective was to study the behavioral modification programs of solid waste management in the Muangyai subdistrict, Wiang Kaen district, Chiang Rai province. Quasi-experimental research was selected for tests before and after the programming with two groups of participants. The participants voluntarily applied to the program. Thirty-one participants in the experimental group lived in Ban Thai Somboon, and Thirty-one participants in the control group lived in Ban Muang. Eight weeks to exploratory behavioral programming based on the waste sorting method 5Rs and then analyzed a descriptive statistic by paired t-test and independent t-test. The results showed that, after participating in the program, the experimental group had higher average knowledge of household solid waste management before giving the program and higher than the control group's statistically significant level at 0.05 (t = 16.036, p-value = 0.001). Attitudes towards control on household waste management behavior in experimental group participants were higher before giving the program and higher than control group are statistically significant level at 0.05 (t= 34.286, p-value
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อการจัดการมูลฝอย ของประชาชนในตำบลม่วงยาย อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย เป็นวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi–Experimental Research) เปรียบเทียบสองกลุ่มประชากรและวัดผลก่อนและหลังทำกิจกรรม โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่ สมัครใจเข้าร่วมกิจกรรม ได้แก่ ประชาชนบ้านไทยสมบูรณ์ อำเภอเวียงแก่น  และกลุ่มเปรียบเทียบอาศัยในบ้านม่วง อำเภอเวียงแก่น จำนวนกลุ่มละ 31 คน โดยเข้าร่วมโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการมูลฝอยตามหลักวิธี การคัดแยกมูลฝอย 5Rs จำนวน 8 สัปดาห์ แล้วรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ เชิงพรรณนา paired t-test และ independent t-test ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยความรู้เรื่องการจัดการมูลฝอย ครัวเรือนของกลุ่มทดลองมีระดับสูงกว่าก่อนการรับโปรแกรม และสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยหลังการทดลองของกลุ่ม เปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 16.036, p-value = 0.001) ด้านทัศนคติต่อการควบคุมพฤติกรรม การจัดการมูลฝอยครัวเรือน ของกลุ่มทดลอง มีระดับคะแนนเฉลี่ย หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่าหลังการทดลองของกลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 34.286, p-value
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/743
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62055626.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.