Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/741
Title: Effectiveness of Literacy and Herbs Usage Behavioral Development Program among Diabetes Mellitus Type 2 Patients, Phasang Sub-district, Whiang Chiang Rung District, Chiang Rai Province
ประสิทธิผลของโปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลป่าซางอำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย
Authors: Krittipong Boontan
กฤติพงศ์ บุญตัน
Namngern Chantaramanee
น้ำเงิน จันทรมณี
University of Phayao
Namngern Chantaramanee
น้ำเงิน จันทรมณี
namngern.ch@up.ac.th
namngern.ch@up.ac.th
Keywords: โปรแกรมการพัฒนาความรอบรู้
พฤติกรรมการใช้สมุนไพร
ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2
Health Literacy Development Program
Herbs Usage Behavioral
Type 2 diabetes mellitus
Issue Date:  7
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this research was to study the effectiveness of health literacy and herbs usage behavioral development program among patients with type 2 diabetes and to compare the mean difference of health literacy and behavior of using herbs in patients with type 2 diabetes Pa Sang Subdistrict, Wiang Chiang Rung District, Chiang Rai Province before and after entering the program. The study was conducted in two phases. Phase I studied 209 people, the research instrument was a questionnaire. Analyze the percentage, frequency distribution, mean, standard deviation and chi-square correlation analysis. Phase II studied 35 people, the research instrument was a questionnaire. And to compare the mean score before and after entering the program by t-test. The results of the first phase showed that type 2 diabetes patients had a moderate level of health literacy and behavior regarding the usage of herbs. The Phase 2 study's findings showed that after participating in program, the sample's had a mean score on health literacy and behavioral usage herbs than before participating the program. which increase was a statistically significant. (p < 0.01)
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และเพื่อเปรียบเทียบผลต่างค่าเฉลี่ยของความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ตำบลป่าซาง อำเภอเวียงเชียงรุ้ง จังหวัดเชียงราย ก่อนและหลังเข้าโปรแกรม โดยทำการศึกษา 2 ระยะ ระยะที่ 1 ทำการศึกษาจำนวน 209 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล แจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยไคสแควร์ ระยะที่ 2 ทำการศึกษาจำนวน 35 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม และการหาค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างเปรียบเทียบก่อนและหลังโดยการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า ระยะที่ 1 พบว่า ความรอบรู้และพฤติกรรมการใช้สมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อยู่ในระดับปานกลาง ผลการศึกษาในระยะที่ 2 พบว่า หลังจากการให้โปรแกรมแล้วกลุ่มตัวอย่างมีค่าคะแนนเฉลี่ยความรอบรู้และคะแนนพฤติกรรมการใช้สมุนไพร มากกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < 0.01)
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/741
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62055581.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.