Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/989
Title: RHETORICAL STRATEGIES AND POLITICAL PERSUASION: AN ANALYSISOF DISCOURSE MARKERS IN PITA LIMCHAROENRAT'S PRE-ELECTIONSPEECHES OF 2023 IN THAILAND
กลยุทธ์วาทศิลป์และการโน้มน้าวทางการเมือง: การวิเคราะห์คำเชื่อมความของ พิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ในการปราศรัยช่วงก่อนการเลือกตั้ง ปี 2566ในประเทศไทย
Authors: Kraiwitch Chinayos
ไกรวิชญ์ ชินายศ
Singkham Rakpa
สิงห์คำ รักป่า
University of Phayao
Singkham Rakpa
สิงห์คำ รักป่า
singkham.ra@up.ac.th
singkham.ra@up.ac.th
Keywords: คำเชื่อมความ
การปราศรัยก่อนการเลือกตั้ง
ประเภทของคำเชื่อมความ
เจตนาของผู้พูด
Discourse markers
Pre-election speeches
Types
Intended meaning
Issue Date:  20
Publisher: University of Phayao
Abstract: The objectives of this independent study were: 1) to investigate the types of discourse markers (DMs) utilized in Pita Limcharoenrat 2) to analyze the frequencies of discourse markers used, and 3) to explore the intended meanings in four pre-election speeches. Purposive sampling was chosen for the analysis base on 21 types of discourse markers, theoretical framework of Swan (2005). The findings of the study were displayed as follows; 1) 14 of 21 types of discourse markers were utilized by Pita Limcharoenrat's speeches of four election campaigns. 2) The study founded DMs were less employed in shorter speeches than the longer. DMs Concession and Counter Argument had the highest frequency, appearing 19 times, followed by Adding and Logical Consequence which appeared 16 and 14 times, respectively. On the other hand, some categories of DMs, including Similarity, Contradicting, Generalizing, Giving Examples and Persuading were not utilized. 3) The intended meaning of discourse markers was employed to range the structure of contents, contrast and emphasize the ideas, and concede and counter-arguing classified by Swan (2005).
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อ 1) ศึกษาประเภทคำเชื่อมความประเภทต่างๆโดยนายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ 2) วิเคราะห์ความถี่ของคำเชื่อมความ และ 3) ศึกษาเจตนาของการสื่อความหมายในการปราศรัยก่อนการเลือกตั้ง 4 ครั้ง คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง โดยในการศึกษานี้ใช้ทฤษฎีกรอบแนวคิดคำเชื่อมความทั้ง 21 ประเภท ของ Swan (2005) ผลการศึกษา พบว่า นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ใชคำเชื่อมความ 14 ประเภทจากทั้งหมด 21 ประเภท และคำเชื่อมความมีการถูกใช้มากในการปราศรัยที่มีระยะเวลานาน โดยคำเชื่อมความที่ถูกใช้ถี่มากที่สุดคือ Concession and Counter Argument จำนวน 19 ครั้ง ตามด้วย Adding 16 ครั้ง และ Logical Consequence 14 ครั้งตามลำดับ แต่ในทางตรงกันข้าม คำเชื่อมความที่ไม่ถูกใช้เลย ได้แก่ Similarity, Contradicting, Generalizing, Giving Examples และ Persuading ด้านเจตนา พบว่า นายพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ นั้น มีความมุ่งหมายในการเรียงลำดับโครงสร้างของเนื้อหา เปรียบเทียบความแตกต่างและเน้นแนวคิด รวมถึงการยอมรับและตอบโต้ ซึ่งเป็นไปตามกรอบของ Swan (2005)
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/989
Appears in Collections:School of Liberal Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62114105.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.