Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/84
Title: Management of Professional Learning Community of educational personnel in the Northern Chiang Rai Educational Development Network.
สภาพการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษา ท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ
Authors: Phonooradi Saokumket
พรอรดี ซาวคำเขตต์
Sunthon Khlaium
สุนทร คล้ายอ่ำ
University of Phayao. School of Education
Keywords: ชุมชนแห่งการเรียนรู้, บุคลากรทางการศึกษา
Professional learning community Educator
Issue Date:  17
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this study was study 1) the management of professional learning community of educational personnel in the Northern Chiang Rai educational development network 2) guidelines of the management of professional learning community of educational personnel in the Northern Chiang Rai educational development network. Questionnaires which was given to the 216 peoples consisting of directors and teachers who concerned with the professional learning community of educational personnel. Descriptive statistics that are used in the data analysis include percentage, frequency average, and standard deviation The results of the study found;                                                                                   1. The management of professional learning community of educational personnel in the Northern Chiang Rai educational development network, overall managements are the high levels.                                2. The of the management of professional learning community of educational personnel in the Northern Chiang Rai educational development network. 2.1) The share values and vision, should focus on creating values and visions together. And encourages the collaborative process of the teachers. 2.2) The shared personal practice, schools should create an atmosphe conducive to learning and learning resources. Support and encourage teachers to learn together. In the professional learning community. 2.3) The supportive and Shared leadership, learning from the activity is the most important part. Learning must take place in a professional learning community to have participated and shared leadership. And dedicated to the continuing professional learning community. 2.4) The collaborative teamwork, teachers are motivated to develop themselves. Dedication to work. The team works consistently and continuously human resources development.
การศึกษาสภาพการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการสภาพการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของบุคลากรทางการศึกษา กลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ  ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา ในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นท้องถิ่น กลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ จำนวน 216 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ  ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน                                                                                                                                                       จากผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ พบว่าโดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากทุกด้าน 2) แนวทางการดำเนินงานการจัดการชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของบุคลากรทางการศึกษากลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ ดังนี้ 2.1) ด้านการมีค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วมกัน ควรมุ่งเน้นการสร้างค่านิยมและวิสัยทัศน์ร่วมกันและ สนับสนุนให้มีกระบวนการทำงานร่วมกันของคณะครู 2.2) ด้านการแลกเปลี่ยนการปฏิบัติงานระหว่างบุคคล โรงเรียนควรจัดบรรยากาศทรัพยากรที่เอื้อ ต่อการเรียนรู้ รวมทั้งสนับสนุนและกระตุ้นให้ครูมีการเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2.3) ด้านการสนับสนุนและการมีภาวะผู้นำร่วมกัน การเรียนรู้จากการจัดกิจกรรมเป็นส่วนที่สำคัญที่สุด การเรียนรู้จะต้องเกิดขึ้นในชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพครู ทำให้ครูได้มีส่วนร่วมและมีภาวะผู้นำร่วมกัน และอุทิศตนในชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 2.4) ด้านทีมร่วมแรงร่วมใจ  ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ครูเป็นแรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาตนเอง อุทิศตนในการทำงาน และทำให้เกิดความร่วมมือในการทำงานเป็นทีมและพัฒนา ศักยภาพบุคลากรอย่างต่อเนื่อง
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/84
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59170136.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.