Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/739
Title: | Factors related to self-care behavior for stroke prevention amongst hypertensive patients in Mae Chai District, Phayao Province. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา |
Authors: | Narongdate Bansra ณรงค์เดช บ้านสระ Suthichai Sirinual สุทธิชัย ศิรินวล University of Phayao Suthichai Sirinual สุทธิชัย ศิรินวล drsithichai7828@gmail.com drsithichai7828@gmail.com |
Keywords: | พฤติกรรมการดูแลตนเอง, โรคหลอดเลือดสมอง, โรคความดันโลหิตสูง ,การป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง Self-care behavior Stroke Hypertension Stroke prevention |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This cross-sectional descriptive research aimed to explore self-care behavior and factors related to self-care behavior to prevent stroke among patients with hypertension. The population were patients with hypertension in Mae Chai District, Phayao Province, 400 participants were calculated by Taro Yamane's method, stratified random sampling. Data were collected using a questionnaires. Statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, chi-square and Pearson's correlation coefficient analysis.
The results showed that most of the samples were female (53.50%), agriculturist (63.50%), married (70.80%), status primary school education (70.30%), aged 18-54 years (74.00%), income 3,000 baht or more (79.30%), comorbidities (69.00%), BMI at obesity level (65.20), Systolic Blood Pressure ≤ 140 mmHg. (87.50%), Diastolic Blood Pressure ≤ 90 mmHg. (95.50%), health awareness overall at high level (x̅ = 2.85, S.D. = 0.14), stroke prevention behaviors at moderate level (x̅ = 3.56, S.D. = 0.43). Factors related to self-care behavior for stroke prevention among hypertensive patients in Mae Chai District, Phayao Province were as follows occupation, risk perceived for stoke, perceived severity for stoke, perceived benefits for stoke prevention and perceived barriers for stoke prevention behavior. การศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง (Cross-sectional descriptive research) นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเอง และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกัน โรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง ประชากรได้แก่ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในพื้นที่ อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง 400 คน คำนวณกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของทาโร ยามาเน่ สุ่มตัวอย่าง แบบแบ่งชั้นภูมิ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ไคสแควร์ การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (53.50%) อาชีพเกษตรกรรม (63.50%) สถานภาพสมรส (70.80%) ศึกษาระดับประถมศึกษา (70.30%) มีอายุ 18-54 ปี (74.00%) รายได้ 3,000 บาทขึ้นไป (79.30%) มีโรคร่วม (69.00%) มีค่าBMI ระดับอ้วน (65.20%) ค่า Systolic ≤ 140 mmHg. (87.50%) และ Diastolic ≤ 90 mmHg. (95.50%) มีการรับรู้ด้านสุขภาพโดยรวมระดับสูง (x̅ = 2.85, S.D. = 0.14) มีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองระดับปานกลาง (x̅ = 3.56, S.D. = 0.43) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อป้องกันตนเองจากโรคหลอดเลือดสมอง (p < 0.001) ได้แก่ อาชีพ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ความรุนแรงของการเป็น โรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้ประโยชน์ของปฏิบัติตนของเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง และการรับรู้ อุปสรรคของการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/739 |
Appears in Collections: | School of Medicine |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61351466.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.