Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/735
Title: | HEALTH PROMOTING BEHAVIORS OF THE 3rd YEAR STUDENTS, UNIVERSITY OF PHAYAO, DURING COVID-19 SITUATION พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนิสิตชั้นปีที่ 3 มหาวิทยาลัยพะเยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 |
Authors: | Pinyada Chaiyot ภิญญดา ไชยยศ Anukool Manotone อนุกูล มะโนทน University of Phayao Anukool Manotone อนุกูล มะโนทน anukool.ma@up.ac.th anukool.ma@up.ac.th |
Keywords: | พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 นิสิต health promotion behaviors COVID-19 situation students |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This cross-sectional descriptive study aimed to study health promotion behaviors and study factors relate to health promotion behaviors during COVID-19 situation among the 3rd year students, University of Phayao. 273 participants were health science students, obtained from multi-stage random sampling. Data were collected by self-answered questionnaires, analyzed by frequency. percentage, mean, standard deviation and multiple analysis (stepwise).
The results showed that Most of the subjects were female (85.7%), aged 21 years (69.6%), with health conditions. The body mass index (BMI) was at the most normal level (50.9%). Most of them were non-smokers (96.7%), but drank alcohol only on festivals or special occasions (57.5%). Health-promoting behaviors were moderate (72.9%). %) Considering each aspect, it was found that they had knowledge, attitudes and perceptions of the benefits of health promotion. Supporting health promotion activities and policies Including obtaining a high level of health support information The perception of obstacles to health promotion was moderate. The factors related to health promotion behaviors of third-year students during the COVID-19 epidemic situation were 46.40 percent (R2 = 0.464, p-value < 0.05), namely: Get health support information. Recognizing the benefits of health promotion body mass index (BMI) and attitude towards health promotion. การศึกษาเชิงพรรณนา ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่ง (Cross-Sectional Descriptive Study) นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของนิสิตมหาวิทยาลัยพะเยา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตกลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ จำนวน 273 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ตอบด้วยตัวเอง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานโดยใช้สถิติการวิเคราะห์แบบพหูคูณ (Multiple Regression) โดยวิธี Stepwise ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (85.7%) อายุ 21 ปีเต็ม (69.6%) มีภาวะสุขภาพ ด้านดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในระดับปกติมากที่สุด (50.9%) ส่วนใหญ่ไม่สูบบุหรี่ (96.7%) แต่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์เฉพาะเทศกาลหรือโอกาสพิเศษ (57.5%) พฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (72.9%) พิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความรู้ ทัศนคติและการรับรู้ประโยชน์ของการส่งเสริมสุขภาพ การสนับสนุนกิจกรรมและนโยบายเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพ รวมถึงการได้รับข้อมูลสนับสนุนด้านสุขภาพต่าง ๆ อยู่ในระดับสูง ส่วนการรับรู้อุปสรรคต่อการส่งเสริมสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง ซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของนิสิตชั้นปีที่ 3 ในช่วงที่มีสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 คือ ร้อยละ 46.40 (R2 = 0.464 , p-value < 0.05) ได้แก่ การได้รับข้อมูลสนับสนุนด้านสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของการส่งเสริมสุขภาพ ดัชนีมวลกาย (BMI) และทัศนคติต่อการส่งเสริมสุขภาพ |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/735 |
Appears in Collections: | School of Medicine |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60058032.pdf | 1.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.