Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/585
Title: THE EFFECT OF SELF-EFFICACY SKILL OSTEOARTHRITIS CARE PROGRAMOF CAREGIVER AT PO HEALTH PROMOTION HOSPITAL,WIANGKAEN DISTRICT, CHIANGRAI PROVINCE
ผลของโปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อทักษะการดูแลของผู้ดูแลผู้สูงอายุภาวะข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปออำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย
Authors: Narongwit Khamrangsi
ณรงค์วิชญ์ คำรังษี
Somchai Jadsri
สมชาย จาดศรี
University of Phayao. School of Medicine
Keywords: โปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อทักษะการดูแลของผู้ดูแลผู้สูงอายุ
ภาวะข้อเข่าเสื่อม
self-efficacy program on the care skills of the elderly
Osteoarthritis
Issue Date:  17
Publisher: University of Phayao
Abstract: Osteoarthritis is still the public health problem due to its adverse effect on health directly. This research aimed to study the effect of self-efficacy program on osteoarthritis senile care skill of caregivers at Por health promotion hospital, WianKaen District, Chiang Rai Province. The samples in this study were 34 pairs caregivers and elderlies with osteoarthritis, selected by convenience sampling, joint the self-efficacy program including lecturing and demonstrating. The data was collected by questionnaires and analyzed by Paired T-test. The results found that after attending the program, the caregivers had average knowledge higher than before 3.44 scores significantly (p <0.001) and osteoarthritis senile care skill increased 6.47 scores (p <0.001). While the elderlies with osteoarthritis were found increased 9.86 scores in quality of life and decreased knee pain score as 4.07% significantly (p < 0.001)
โรคข้อเข่าเสื่อมยังคงเป็นปัญหาด้านสาธารณสุข เนื่องจากมีผลเสียต่อสุขภาพโดยตรง งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อทักษะการดูแลของผู้ดูแลผู้สูงอายุภาวะข้อเข่าเสื่อม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปอ อำเภอเวียงแก่น จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาคือ ผู้ดูแลและผู้สูงอายุที่เป็นโรคข้อเข่าเสื่อม จำนวน 34 คู่ เลือกโดยการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก ร่วมกับโปรแกรมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน รวมถึงการบรรยายและการสาธิต ข้อมูลถูกเก็บรวบรวมโดยใช้แบบสอบถามวิเคราะห์ด้วยสถิติ Paired t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังจากเข้าร่วมโปรแกรม ผู้ดูแลผู้สูงอายุมีความรู้เฉลี่ยสูงกว่าก่อน3.44 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) และทักษะการดูแลโรคข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น6.47 คะแนน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001) ในขณะที่ผู้สูงอายุที่เป็นข้อเข่าเสื่อมมีคุณภาพชีวิตเพิ่มขึ้น 9.86 คะแนน และลดคะแนนอาการปวดเข่าลดลง ร้อยละ 4.07 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P < 0.001)
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/585
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62055974.pdf953.73 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.