Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/579
Title: RELATIONSHIP OF HEALTH LITERACY AND SELF-DEFENSE BEHAVIORS FROM THE CORONAVIRUS DISEASE 2019 INFECTION OF VILLAGE HEALTH VOLUNTEERS MAECHAI DISTRICT, PHAYAO PROVINCE
ความสัมพันธ์ของความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา
Authors: Wichitra Norkaew
วิจิตตรา หน่อแก้ว
Namngern Chantaramanee
น้ำเงิน จันทรมณี
University of Phayao. School of Medicine
Keywords: ความรอบรู้ด้านสุขภาพ
พฤติกรรมการป้องกันตนเอง
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน
Health Literacy
Self-Prevention Behavior
Village Health Volunteers (VHV)
Coronavirus Diseases 2019
Issue Date:  30
Publisher: University of Phayao
Abstract: A cross-sectional study was used to perform this research. The purpose of this study was to examine the relationship between health literacy and self-prevention practices against coronavirus disease among 300 village health volunteers in Mae Chai District, Phayao Province, using a multistage sampling approach. Data was collected via questionnaires. Descriptive statistics and Pearson's correlation coefficient were used to analyze. According to the study's findings, village public health volunteers were 84.7 percent female, 64.7 percent between the ages of 41 and 60, 80.7 percent married, 56.3 percent had secondary education or equivalent. 75.3 percent had a family average monthly income of fewer than 10,000 baht. 42.7 percent had a period of service of fewer than 10 years. 81.7 percent had received training, and 96.3 percent had received news from online media. Overall, health literacy was shown to be positively ralated to COVID-19 self-prevention ehaviors (r = 0.355). Furthermore, access to information and health services, self-management, communication, media literacy, and decision-making were all found to be positively correlated with COVID-19 self-prevention behaviors (p-value = 0.001). As a result, community-based public health organizations should emphasize the promotion of health literacy so that village health volunteers can practice safe practices and prevent occupational infedtion.
การวิจัยครั้งนี้การศึกษาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา จำนวน 300 ราย โดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานโดยใช้สถิติการทดสอบไคสแควร์และสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่า อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ร้อยละ 84.7 เป็นเพศหญิง อายุอยู่ในช่วง 41-60 ปี ร้อยละ 64.7 สถานภาพสมรสคู่ ร้อยละ 80.7 จบการศึกษาสูงสุดระดับ มัธยมศึกษาหรือเทียบเท่า ร้อยละ 56.3 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครอบครัวน้อยกว่า 10,000 บาท ร้อยละ 75.3 ซึ่งมีระยะเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่ในช่วงน้อยกว่า 10 ปี ร้อยละ 42.7 เคยได้รับการอบรม ร้อยละ 81.7 และช่องทางการรับข่าวสารจากสื่อออนไลน์มากที่สุด ร้อยละ 96.3 พบว่าปัจจัยความรอบรู้ด้านสุขภาพจากองค์ประกอบ 6 ด้าน มี 5 ด้านคือ ด้านการเข้าถึงข้อมูลและบริการสุขภาพ การจัดการตนเอง การสื่อสาร การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศและด้านการตัดสินใจ มีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมในการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value = 0.01) ส่วนด้านความรู้ความเข้าใจ ไม่มีความสัมพันธ์  
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/579
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60058054.pdf2.01 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.