Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/345
Title: The Innovative Moderate Lightweight Concrete Block
นวัตกรรมคอนกรีตบล็อกมวลเบาปานกลาง
Authors: Konlawat Nawatchanon
กลวัชร ณวัตน์ชานนท์
Nattapong Damrongwiriyanupap
ณัฐพงศ์ ดำรงวิริยะนุภาพ
University of Phayao. School of Engineering
Keywords: คอนกรีตบล็อกมวลเบาปานกลาง
หินฝุ่น
กำลังรับแรงอัด
การดูดซึมน้ำ
ค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อน
Moderate lightweight concrete block
Stone dust
Compressive strength
Water absorption
Thermal conductivity
Issue Date:  7
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research aims to study the properties of moderate lightweight concrete blocks with the replacement of sand by stone dust in the ratio of 0%, 25%, 50%, 75%, and 100% by weight with the water cement ratio of 0.60 for all mixes. The dry density, compressive strength, and water absorption were tested following Thai Industrial Standards Institute (TIS) number 2601-2556 and thermal conductivity was also conducted. The test results showed that stone dust could be used to replace sand up to 100% for the production of cellular lightweight concrete blocks class C12 with the dry density of 1,001-1,200 kg/m3 that satisfied the strength and water absorption criteria. The thermal conductivity of developed moderate lightweight concrete blocks tended to decrease with increasing of stone dust replacement.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบัติของคอนกรีตบล็อกมวลเบาปานกลางแบบเติมฟองอากาศ ซึ่งได้จากการนำเอาหินฝุ่นซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมมาใช้แทนที่ทรายในอัตราส่วนร้อยละ 0 25 50 75 100 โดยน้ำหนัก โดยใช้อัตราส่วนน้ำต่อปูนซีเมนต์มีค่าคงที่เท่ากับ 0.60 และศึกษาคุณสมบัติของคอนกรีตบล็อกมวลเบาปานกลางได้แก่ ความหนาแน่นเชิงปริมาตรในสภาพแห้ง กำลังรับแรงอัด และการดูดซึมน้ำ ซึ่งทำการทดสอบตามมาตรฐาน มอก.2601-2556 และทดสอบค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อน จากการทดสอบ พบว่าสามารถใช้หินฝุ่นแทนที่ทรายได้สูงสุดถึงร้อยละ 100 ในการผลิตคอนกรีตบล็อกมวลเบาปานกลางแบบเติมฟองอากาศ ชนิด C12 ที่ความหนาแน่นเชิงปริมาตรในสภาพแห้ง 1,001-1,200 กิโลกรัมต่อลูกบาศก์เมตร โดยมีกำลังรับแรงอัดและการดูดซึมน้ำเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.2601-2556 และค่าสัมประสิทธิ์การนำความร้อนมีแนวโน้มลดลงตามปริมาณการแทนที่ทรายด้วยหินฝุ่น
Description: Master of Engineering (M.Eng. (Civil Engineering))
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/345
Appears in Collections:School of Engineering

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60103493.pdf6.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.