Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/342
Title: Approaches to the Development and Promotion of Natural Tourism in Trang Province as a Secondary Destination
แนวทางการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรังในฐานะเมืองรอง
Authors: Saengsuree Thitirattanakan
แสงสุรีย์ ฐิติรัตนาการ
Seri Wongmonta
เสรี วงษ์มณฑา
University of Phayao. College of Management
Keywords: การท่องเที่ยวทางธรรมชาติ การพัฒนาการท่องเที่ยว การส่งเสริมการท่องเที่ยว จังหวัดตรัง
Natural Tourism
Tourism Development
Promote Tourism
Trang Province
Issue Date:  16
Publisher: University of Phayao
Abstract: The objectives of this research are 1) to study the potential of natural tourism in Trang Province, 2) to find ways to develop natural tourism in Trang Province as a secondary Destination, 3) to find ways to promote natural tourism of Trang Province. Trang Province as a secondary Destination Using qualitative research methods It's an in-depth interview. There were 20 key informants from government sectors, private sectors, citizens sectors and academics sectors in Trang Province. The results of the study found that 1) Trang Province has the potential of diverse tourism resources, beaches, islands, nature trails. That are outstanding People are very welcoming hosts. It has an advantage in location and easy accessibility. Related sectors are highly integrated. The private sector continues to pay more attention to tourism development. And there is a need to develop tourism personnel. 2) The approach to natural tourism development of Trang Province as a secondary city, it was found that there was a link between tourism, main routes and secondary routes of tourist attractions. Has developed facilities such as road signs, meaningful signs Wi Fi Internet service area (WiFi) and modern technology are used in tourism in tourist attractions. 3) Guidelines for promoting natural tourism of Trang province as a secondary city, found that there are various tourism resources. Especially natural tourist attractions, way of life, easy access, convenience, fast, important, inexpensive Cost-effective There is a constant support for tourism and tourism channels. I want more routes to be developed and the development of tourism personnel.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรัง  2) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรังในฐานะเมืองรอง  3) เพื่อหาแนวทางในการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรังในฐานะเมืองรอง โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นการสัมภาษณ์เชิงลึก ซึ่งมีผู้ให้ข้อมูลหลักจำนวน 20 คน จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชน และนักวิชาการในจังหวัดตรัง ผลการศึกษาพบว่า 1) จังหวัดตรังมีศักยภาพด้านทรัพยากรการท่องเที่ยวที่มีความหลากหลาย ชายหาด เกาะ เส้นทางศึกษาธรรมชาติ  ที่มีความโดดเด่น ผู้คนก็เป็นเจ้าบ้านที่ดีพร้อมต้อนรับ มีความได้เปรียบด้านที่ตั้งและการเข้าถึงได้สะดวก ภาคส่วนที่เกี่ยวข้องมีการบูรณาการได้เป็นอย่างดี ภาคเอกชนคงให้ความสำคัญของการพัฒนาการท่องเที่ยวมากขึ้น และมีความต้องการพัฒนาด้านบุคคลากรทางด้านการท่องเที่ยว  2) แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรังในฐานะเมืองรอง พบว่า มีการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเส้นทางหลักและเส้นทางรองของแหล่งท่องเที่ยว มีการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ป้ายบอกทาง ป้ายสื่อความหมาย พื้นที่บริการอินเทอร์เน็ตไวฟาย (WiFi) และยังมีการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว 3) แนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวทางธรรมชาติของจังหวัดตรังในฐานะเมืองรอง พบว่า มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วิถีชีวิต การเข้าถึงได้ง่าย สะดวก สบาย รวดเร็ว ที่สำคัญราคาไม่แพง มีความคุ้มค่า มีการสนับสนุนการท่องเที่ยวการท่องเที่ยวให้มีความหลากหลายช่องทางอย่างต่อเนื่อง อยากให้มีการพัฒนาเส้นทางเชื่อมโยงเพิ่มขึ้นและการพัฒนาด้านบุคลากรทางการท่องเที่ยว
Description: Master of Arts (M.A. (Tourism and Hotel Management))
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม. (การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/342
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61160060.pdf1.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.