Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/270
Title: SCHOOL MANAGEMENT IN ACCORDANCE WITH THE SUFFICIENCY ECONOMY PHILOSOPHY IN SCHOOLS FOR EXPANDING EDUCATIONAL OPPORTUNITIES UNDERTHE OFFICE OF CHIANGRAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 3
การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3
Authors: Sothorn Sriawut
โสธร ศรีอาวุธ
Thidawan Unkong
ธิดาวัลย์ อุ่นกอง
University of Phayao. School of Education
Keywords: การบริหารสถานศึกษา
โรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
School Management
Educational Opportunity Expansion Schools
The Sufficiency Economy Philosophy
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purposes of this research are to study school management according to the sufficiency economy philosophy of educational opportunity expansion schools and study recommendations on basic school management according to the sufficiency economy philosophy of educational opportunity expansion schools. The Sample groups in this research included 302 participants who were board members and teachers from educational opportunity expansion schools under Chiang Rai Primary Education Service Area Office 3. Research instrument used in this research was questionnaire with 1-5 Likert’s scale with reliability rate 0.879. Statistical tools employed were mean, percentage, mean, as well as standard deviation.             This research found that overall, the basic school management according to the sufficiency economy philosophy of educational opportunity expansion schools under Chiangrai Primary Education Service Area Office 3 was rated at the highest level as arranged chronologically in the following aspects: academic administration, personnel administration, budgeting administration, general administration and educational recommendations. This indicated that in the field of academic administration, there should have been budget support in personnel training or in giving more knowledge of academic affairs, as well as encouragement of participation and cooperation in academic affairs for school development. Moreover, local sectors’ and villagers’ participation should been gained for more recommendations.
การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา และ 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา งานวิจัยนี้ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 302 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.876 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน             ผลการศึกษาพบว่า การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการบริหารงานวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคคล ด้านการบริหารงานงบประมาณ ด้านการบริหารงานทั่วไป ตามลำดับและรวมถึงข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารสถานศึกษา พบว่าในด้านการบริหารงานวิชาการควรสนับสนุนงบประมานให้บุคลากรไปอบรม หรือให้ความรู้เรื่องงานวิชาการให้มากขึ้น ส่งเสริมให้ทุก ๆ คนมีส่วนร่วมและสนับสนุนงานด้านวิชาการร่วมกัน เพื่อพัฒนาสถานศึกษาและมีการระดมความร่วมมือกับชาวบ้านและหน่วยงานท้องถิ่นเพื่อช่วยให้ข้อเสนอแนะในการทำงานให้มากยิ่งขึ้น
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/270
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170410.pdf2.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.