Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/224
Title: LEARNING PROVISION ON MATHEMATICS COOPERATIVE LEARNING ACTIVITIES BY TAI ON EQUATIONS AND SOLVING EQUATIONS FOR PRATHOM SUKSA VI STUDENTS
การจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI เรื่องสมการและการแก้สมการของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Authors: Punnapha Aree
ปุณณภา อารีย์
Ketsaraphan punsrikate Khongcharoen
เกศราพรรณ พันธุ์ศรีเกตุ คงเจริญ
University of Phayao. School of Education
Keywords: การพัฒนาและผลการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค
เรื่องสมการและการแก้สมการ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
Development and Learning Group Techniques
Equations and solutions to equations Of the Mathematics Learning Group For students in grade 6
Issue Date:  24
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this research was to 1) compare the mathematics learning achievement of Prathom Suksa 6 students before and after the TAI. 2) to study the students' opinions on the TAI group's learning style of students after the 6th grade. Organize learning activities. Equations and solutions to equations Prathomsuksa 6 students in the first semester of academic year 2561 Banviang school Wiang Chai District There are 15 students in the class of Chiang Rai province. Wiang Chai District One Group Pre-test Design The content of this research was a comparison of mathematics learning achievement of Prathomsuksa 6 students before and after the activity. Group learning Tools used to collect data. 1. Learning Management Plan 2. Skills Training 3. Graduation Test Question 4. Grade 6 Students' Questionnaire Analysis. Data were analyzed by searching for discriminative power. Find the value. Finding confidence in basic statistical tests and finding efficiency.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค (TAI) เรื่องสมการและการแก้สมการ  2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค TAI ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องสมการและการแก้สมการ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561  โรงเรียนบ้านเวียงเดิม อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย จำนวน 30 คน จำนวน 1 ห้องเรียนกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านเวียงเดิม  อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย จำนวน 15 คน โดย One Group Pre – test Design  เนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ของนักเรียน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบกลุ่มร่วมมือเทคนิค เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 1.แผนการจัดการเรียนรู้ 2.แบบฝึกเสริมทักษะ 3.แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข้อ 4. แบบวัดความคิดเห็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาหาค่าอำนาจจำแนก หาค่าความเที่ยงตรง การหาความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ สถิติพื้นฐาน และการหาประสิทธิภาพ ผลการวิจัยพบว่า 1.ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน  เรื่อง สมการและการแก้สมการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยรวมมี  91.71/90.62 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ทุกแผน 2.คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนมีค่าเท่ากับ 28.10 คิดเป็นร้อยละ 93.67 ซึ่งสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนมีค่าเท่ากับ 12.43 คิดเป็นร้อยละ 41.43 และสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ร้อยละ 70 3.ระดับความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อน เรื่อง สมการและการแก้สมการ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ จำนวน 30 คน มีระดับความคิดเห็น ดังนี้มากที่สุดร้อยละ  95.33 และ มาก ร้อยละ  2.67 ปานกลาง ร้อยละ 2.00  
Description: Master of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/224
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59170349.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.