Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1092
Title: The factors predicting tuberculosis preventive behaviors among the tuberculosis contacts in Wangnua district, Lampang province
ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรค ในอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง
Authors: Ploypailin Jintana
พลอยไพลิน จินตนา
Tienthong Takaew
เทียนทอง ต๊ะแก้ว
University of Phayao
Tienthong Takaew
เทียนทอง ต๊ะแก้ว
tienthong.ta@up.ac.th
tienthong.ta@up.ac.th
Keywords: ปัจจัย
พฤติกรรม
วัณโรค
ผู้สัมผัส
factor
behaviors
tuberculosis
contacts
Issue Date:  15
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purposes of this cross-sectional research were identifying factors predicting tuberculosis preventive behaviors among the tuberculosis contacts in Wangnua district, Lampang province. The sample is total 212 tuberculosis contacts. Data were collected using the questionnaire from March to May 2022. Data were analyzed using descriptive statistics, correlation analysis, and stepwise multiple regression analysis. The results showed that the average score of tuberculosis preventive behaviors among the tuberculosis contacts was high level. (mean = 4.52, S.D. = 0.32) The predictors of tuberculosis preventive behaviors were 3 factors as follows: decision skills in health literacy followed by cognitive in health literacy and residence/workplace type in environmental factor. These four factors together predicted 25% the tuberculosis preventive behaviors. (Adj. R2 = 0.250, F = 34.505, p-value
การวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคในอำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง กลุ่มตัวอย่างจำนวน 212 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามระหว่างเดือนมีนาคมถึงพฤษภาคม พ.ศ. 2565 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า คะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคอยู่ในระดับสูง (mean = 4.52, S.D. = 0.32) ปัจจัยที่สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคได้จำนวน 3 ปัจจัย ได้แก่ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ คือ 1) ด้านทักษะการตัดสินใจ 2) ด้านความรู้ความเข้าใจ และ 3) สิ่งแวดล้อมด้านลักษณะที่อยู่อาศัย / ที่ทำงาน ซึ่งสามารถทำนายพฤติกรรมการป้องกันวัณโรคของผู้สัมผัสผู้ป่วยวัณโรคได้คิดเป็นร้อยละ 25 (Adj. R2 = 0.250,  F = 24.505,  p-value
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1092
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63054671.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.