Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/102
Title: A Study of Sufficiency of School Administration in Schools under the Office of Chiang Rai Primary Educational Area 3
การศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3
Authors: Jarin Khammapan
จรินทร์ คำมาปัน
Ruksit Suttipong
รักษิต สุทธิพงษ์
University of Phayao. School of Education
Keywords: การบริหารสถานศึกษา
สถานศึกษาพอเพียง
School Administration
Suffice education
Issue Date:  17
Publisher: University of Phayao
Abstract: The aims of study was to 1) To study of school administration situation on sufficiency of schools under the Office of Chiang Rai Primary Education Area 3 within the scope of driving the philosophy of sufficiency. 2) To study the opinions of administrators on the state of school administration situation on sufficiency of schools under the Office of Chiang Rai Primary Education Area 3 within the scope of driving the philosophy of sufficiency. Classified by Sufficiency Economy Experience and school size. The sample size was 102 persons. The research instruments were checklist. Data were frequency, percentage, mean, standard deviation and one-way ANOVA, at the .05 level of significance The results showed that the sufficiency of school administration situation on sufficiency of schools under the Office of Chiang Rai Primary Education Area 3 had a high level of school management. Considering the individual aspect, it was found that there was a high level of school administration at all levels. The highest level of management was the administration level, followed by the development of learners' activities. And the personnel development of the school. The lowest level of school administration was the curriculum and instructional management.
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในขอบข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา 4 ด้าน 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารที่มีต่อสภาพสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในขอบข่ายการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา 4 ด้าน จำแนกตามประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษาพอเพียงและขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 102 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ วิเคราะห์โดยแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการศึกษา พบว่า สภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยรวมมีสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงในระดับมากทุกด้าน ด้านที่มีสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงในระดับมากที่สุด คือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และด้านการพัฒนาบุคลากรของสถานศึกษา ด้านที่มีสภาพการบริหารสถานศึกษาพอเพียงในระดับน้อยที่สุด คือ ด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/102
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
59170945.pdf982.74 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.