Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/980
Title: The Efficiency Increasing  of Mediation at the Investigation Level according to the Mediation Act B.E. 2562: The Study of the Provincial Police Stations in Phayao Province.
การเพิ่มประสิทธิภาพของการไกล่เกลี่ยในชั้นพนักงานสอบสวน ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดพะเยา
Authors: Warut Uttawang
วรุฒ อุทธวัง
Wimonrekha Sirichairawan
วิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ
University of Phayao
Wimonrekha Sirichairawan
วิมลเรขา ศิริชัยราวรรณ
wimonrekha.si@up.ac.th
wimonrekha.si@up.ac.th
Keywords: การไกล่เกลี่ยในชั้นพนักงานสอบสวน
คดีอาญายอมความได้
คดีอาญาลหุโทษ
คดีอาญาที่มีโทษอย่างสูงจำคุกไม่เกิน 3 ปี
พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562
กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
mediation at the investigative level
compoundable offense
petty offense
criminal cases with imprisonment not more than 3 years
Mediation Act B.E.2562
Restorative Justice
Issue Date:  20
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this self-research is to study the problems of mediation that occur in actual work at the investigative level. According to the Mediation Act, B.E.2562, suggesting solutions and developing the mediation process to be more efficient. The investigating officer is required to notify this rights and arrange for the disputing parties to enter the mediation process. There is a mediator, who is not the investigative officer, who will do mediation so that the parties can agree on the deal voluntarily. However, it was found that mediation of criminal cases at the investigative level is still inefficient. As a result, the said case cannot be settled or ended at the level of investigators. Therefore, to create more standardized and efficient guidelines, the researcher proposes to amend and reduce the mediation steps, to complete the mediation period at one time. This will reduce the burden on the parties who have to travel to meet both the investigating officer and the mediator afterward. Moreover, mediation facilities within police stations should be improved to be more prepared for operations. It should also be established as a policy to increase incentives for investigative officers to adjust the paradigm and perspective that they have towards the mediation process at the investigative level according to the Mediation Act B.E.2562, which is an alternative justice process but there are more steps and take a longer time. This is different from the main justice process according to the Criminal Procedure Code, which has fewer steps and is completed at one time. For the investigative officers to understand, accept, cooperate, and voluntarily provide more mediation for the parties. Thus, it will result in the mediation process at the investigative level efficiency, time is reduced, and costs are saved. Finally, the cases will go to the court less and it will reduce inequality in access to justice for the people.
การค้นคว้าด้วยตนเองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานจริงในการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชั้นพนักงานสอบสวน ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 เพื่อเสนอแนะทางออกและนำมาพัฒนากระบวนการไกล่เกลี่ยให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งตามพระราชบัญญัติฉบับนี้ในชั้นพนักงานสอบสวนกำหนดให้พนักงานสอบสวนต้องแจ้งสิทธิและจัดให้คู่พิพาทเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ย โดยมีผู้ไกล่เกลี่ยซึ่งไม่ใช่พนักงานสอบสวนผู้เป็นเจ้าของสำนวนเข้ามาทำหน้าที่เป็นคนกลางในการไกล่เกลี่ย เพื่อให้คู่กรณีสามารถตกลงกันได้ด้วยความสมัครใจ แต่ในการปฏิบัติงานจริงนั้น กลับพบว่าการไกล่เกลี่ยคดีอาญาในชั้นพนักงานสอบสวนยังขาดประสิทธิภาพ ส่งผลให้คดีดังกล่าวไม่สามารถยุติหรือสิ้นสุดลงในชั้นพนักงานสอบสวนได้ ดังนั้น เพื่อสร้างแนวทางปฏิบัติให้มีมาตรฐานและมีประสิทธิภาพ ผู้วิจัยจึงเสนอให้แก้ไขลดขั้นตอนของกฎหมายลง เพื่อทำให้ระยะเวลาการไกล่เกลี่ยแล้วเสร็จในคราวเดียว เป็นการลดภาระของคู่กรณีที่ต้องเดินทางมาพบทั้งพนักงานสอบสวนและผู้ทำการไกล่เกลี่ยภายหลัง และควรปรับปรุงสถานที่ไกล่เกลี่ยภายในสถานีตำรวจให้มีความพร้อมในการปฏิบัติงานมากขึ้น อีกทั้งควรกำหนดเป็นเชิงนโยบายเพื่อเพิ่มแรงจูงใจให้พนักงานสอบสวน เพื่อปรับกระบวนทัศน์และมุมมองที่พนักงานสอบสวนมีต่อกระบวนการไกล่เกลี่ยในชั้นพนักงานสอบสวน ตามพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นกระบวนการยุติธรรมทางเลือก แต่กลับมีขั้นตอนที่มากกว่าและใช้ระยะเวลาที่นานกว่า อันแตกต่างไปจากกระบวนการยุติธรรมหลัก (เดิม) ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาคดีอาญา ที่มีขั้นตอนที่น้อยกว่าและแล้วเสร็จในคราวเดียว เพื่อให้พนักงานสอบสวนเกิดความเข้าใจ ยอมรับ ให้ความร่วมมือ ในการจัดให้มีการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทให้แก่ประชาชนมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้กระบวนการไกล่เกลี่ยในชั้นพนักงานสอบสวนมีประสิทธิภาพ ลดระยะเวลา ประหยัดค่าใช้จ่าย จำนวนคดีที่จะขึ้นสู่ชั้นศาล และประการสำคัญคือลดความเลื่อมล้ำในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมให้กับประชาชน
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/980
Appears in Collections:School of Law

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64032904.pdf1.51 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.