Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/975
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJutatip Phanphoben
dc.contributorจุฑาทิพย์ พานพบth
dc.contributor.advisorWimonrekha Sirichairawanen
dc.contributor.advisorวิมลเรขา ศิริชัยราวรรณth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-06-05T15:09:58Z-
dc.date.available2024-06-05T15:09:58Z-
dc.date.created2024
dc.date.issued20/5/2024
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/975-
dc.description.abstractThe research is to examine this issue and provide guidelines for facilitating the mediation process. Disputes at Dhamrongtham Center, Santisuk District, Nan Province, by examining documents and laws related to administrative dispute mediation against the Dispute Mediation Act 2019, using information from a sample survey of 16 informants. Research results on the dispute resolution process issues at the Dhamrongtham Center, Santisuk District, Nan Province show that from 2014 to 2023, the dispute resolution operation results of the Dhamrongtham Center, Santisuk District reached a record-breaking mediation success rate of 85.58% and 14.41% of unresolved disputes. The reason was found to be due to factors in which one of the parties did not agree to participate in the dispute resolution process. This is partly due to issues with the skills and expertise of mediators. In addition, there are also operational issues at the Dhamrongtham Center, Santisuk District. Its staff is inadequate and lacks knowledge. Legal skills and knowledge in dispute resolution and the limitations of administrative law in resolving disputes. Therefore, work processes should improve, as should the people performing their duties, including mediators. Have higher standards and expertise in resolving disputes. Some outdated laws related to administrative dispute arbitration should also be improved/modified only by being equal to the Mediation Act B.E. 2562, so that can bring real justice to the people.en
dc.description.abstractวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางเพื่อการส่งเสริมให้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอสันติสุข จังหวัดน่านโดยศึกษาจากเอกสาร และกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของฝ่ายปกครองเปรียบเทียบกับพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 และศึกษาจากข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างผู้ให้ข้อมูลจำนวน 16 คน ผลการศึกษาสภาพปัญหาของกระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอสันติสุข จังหวัดน่าน พบว่า ผลการดำเนินงานการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอสันติสุข ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2557 – 2566 มีสถิติการไกล่เกลี่ยสำเร็จร้อยละ 85.58 และมีข้อพิพาทที่ไม่สามารถยุติเรื่องได้คิดเป็นร้อยละ 14.41 พบว่า เกิดจากปัจจัยที่คู่กรณีฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งไม่ยินยอมเข้าสู่กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทและ ส่วนหนึ่งเกิดจากปัญหาด้านทักษะและความเชี่ยวชาญของผู้ไกล่เกลี่ย ประกอบกับปัญหาด้านการปฏิบัติงานของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอสันติสุข ซึ่งมีบุคลากรไม่เพียงพอกับงาน และขาดความรู้ ทักษะด้านกฎหมายและความรู้ด้านการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท ตลอดจนปัญหาด้านข้อจำกัดของกฎหมายไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของฝ่ายปกครอง ดังนั้น ควรมีการปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานและพัฒนาบุคลากรที่ปฏิบัติหน้าที่รวมทั้ง ผู้ไกล่เกลี่ย ให้มีมาตรฐานและมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการไกล่เกลี่ย ข้อพิพาทให้มากขึ้น และควรมีการปรับปรุง/แก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของ ฝ่ายปกครองบางส่วนที่ล้าหลัง ให้ทัดเทียมกับพระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562 เพื่อให้สามารถอำนวยความเป็นธรรมให้แก่ประชาชนอย่างแท้จริงth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทของฝ่ายปกครอง, ศูนย์ดำรงธรรมอำเภอ, ผู้ไกล่เกลี่ย, พระราชบัญญัติการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท พ.ศ. 2562th
dc.subjectMediation of administrative disputes Dhamrongtham District Center the mediatoren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.titleProblem Conditions and Guidelines for the Efficiency Mediation of Dhamrongtham Center of Santisuk District, Nan Provinceen
dc.titleสภาพปัญหาและแนวทางเพื่อการส่งเสริมให้กระบวนการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ของศูนย์ดำรงธรรมอำเภอสันติสุข จังหวัดน่านth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorWimonrekha Sirichairawanen
dc.contributor.coadvisorวิมลเรขา ศิริชัยราวรรณth
dc.contributor.emailadvisorwimonrekha.si@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisorwimonrekha.si@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Laws (LL.M.)en
dc.description.degreenameนิติศาสตรมหาบัณฑิต (น.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:School of Law

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63033162.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.