Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/954
Title: Production of fungal cellulase culture for use as an inoculum starter with fermented microorganisms to improve the nutrition of maize residues for ruminant feed
การผลิตเอนไซม์ย่อยเยื่อใยพืชแบบน้ำจากเชื้อราเพื่อใช้เป็นสารเติมแต่งอาหารในการเพิ่มโภชนะต้นข้าวโพดหมักสำหรับใช้เป็นอาหารสัตว์
Authors: Supakhom Klaitanoad
ศุภคม คล้ายโตนด
Khanchai Dunmek
ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ
University of Phayao
Khanchai Dunmek
ขรรค์ชัย ดั้นเมฆ
khanchai.da@up.ac.th
khanchai.da@up.ac.th
Keywords: การปรับปรุงคุณค่าทางโภชนะ, เอนไซม์ย่อยเยื่อใยพืช;ไตรโคเดอร์มา วิลาย, แลคติกเอซิดแบคทีเรีย, สารเคมีตกค้าง
Issue Date:  4
Publisher: University of Phayao
Abstract: Maize is an economic plant in Thailand. Maize plant without grain such as stalk could be used as conventional ruminant feed in terms of availability roughage but the plant was limited by high fiber and low nutrition. Ensiling of maize plant with culture of fibrolylic fungi and lactic acid bacteria improves their qualities and nutritional values. In this study, the optimal conditions for nutrition improvement were maize plant at initial moisture 60-70%, initial pH 6.0-7.0 supplement by 0.2% of microbial inoculums and cultivated at 30 ºC for a period of 21 days. Four inoculum treatments are as followed T0) control without inoculum, T1) Lactobacillus plantarum, T2) Trichoderma viride UP15 culture and T3) a combination of 1:1 ratio with T. viride UP15 culture and L. plantarum. The results that the ensiled maize plant with microbial inoculations had a significantly (p
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย ต้นข้าวโพดแห้งหลังเก็บเกี่ยวสามารถนำมาใช้เป็นอาหารหยาบสำหรับสัตว์เคี้ยวเอื้องได้แต่มีข้อจำกัด คือ มีเยื่อใยสูงและมีคุณค่าโภชนะที่ต่ำ การหมักต้นข้าวโพดแห้งด้วยหัวเชื้อแบบเหลวที่ผลิตเอนไซม์เซลลูเลสและจุลินทรีย์ที่ผลิตกรดแลคติกจึงเป็นวิธีการช่วยปรับปรุงคุณภาพ ช่วยให้คุณค่าทางโภชนะเพิ่มขึ้นได้ และช่วยลดปริมาณสารเคมีตกค้างจากการทำการเกษตร การทดลองนี้สภาวะที่เหมาะสมในการปรับปรุงโภชนะ คือ ต้นข้าวโพดที่ความชื้นเริ่มต้น 60-70 เปอร์เซ็นต์ ค่า pH เริ่มต้น 6.0-7.0 เสริมด้วยการใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ความเข้มข้น 0.2 เปอร์เซ็นต์ หมักที่อุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 21 วัน การเติมหัวเชื้อทั้งสี่แบบดังต่อไปนี้ คือชุดควบคุมที่ไม่เติมจุลินทรีย์ (T0) Lactobacillus plantarum (T1) หัวเชื้อ Trichoderma viride UP15 (T2) และ หัวเชื้อจุลินทรีย์ผสมในระหว่าง T. viride UP15 ร่วมกับ L. plantarum ในอัตราส่วน 1:1 (T3) ผลการทดลองพบว่าต้นข้าวโพดหมักที่มีการเติมหัวเชื้อจุลินทรีย์จะมีปริมาณโปรตีนสูงขึ้นมากกว่า ชุดควบคุมที่หมักแบบไม่ใส่หัวเชื้อจุลินทรีย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/954
Appears in Collections:School of Agriculture and Natural Resources

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63010910.pdf2.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.