Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/946
Title: | Health belief model and preventive behaviors for coronavirus disease-2019
among secondary school students at Wiangsa district, Nan province แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาอำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน |
Authors: | Pichayawadee Jaisupap พิชญวดี ใจสุภาพ Suthichai Sirinual สุทธิชัย ศิรินวล University of Phayao Suthichai Sirinual สุทธิชัย ศิรินวล suthichai.si@up.ac.th suthichai.si@up.ac.th |
Keywords: | แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019: โควิด-19 พฤติกรรมการป้องกันโรค นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา Health believe model Coronavirus disease-2019 (COVID-19) Preventive behaviors Secondary school students |
Issue Date: | 4 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This cross-sectional Descriptive study aimed to study Health belief model and preventive behaviors for coronavirus disease 2019 among secondary school students at Wiangsa district, Nan province. The 337 participants were selected by multi-stage sampling. The data were collected in February 1, 2023–February 28, 2023 through using questionnaires and analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson' s Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Linear Regression. The results revealed that most of the them were female (60.5%), average age=15.3 years (S.D.=1.67), 23.7% were the study in 4th grade, 90.2% stayed home during pandemic, 49.0% were regular hang out with friends, 66.8% had relationship with friends at moderate level, 73.0% had knowledge about COVID–19 at moderate level, 75.1% had an attitude towards COVID-19 at moderate level, 67.4% had perception for COVID-19 at moderate level, 46.9% had preventive behavior towards COVID-19 at high level. There were 7 factors can predict preventive behaviors for COVID-19 significantly for 21.7% (Adj.R2=0.217, (p การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพและพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา อำเภอเวียงสา จังหวัดน่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน กลุ่มตัวอย่าง 337 คน เก็บข้อมูล 1–28 กุมภาพันธ์ 2566 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 60.5 มีอายุเฉลี่ย 15.3 ปี อยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ร้อยละ 23.7 ช่วงโรคระบาดส่วนใหญ่อยู่บ้าน ร้อยละ 90.2 กิจกรรมนอกบ้านคือ พบปะเพื่อน ร้อยละ 49.0 ความสัมพันธ์กับเพื่อนระดับปานกลาง ร้อยละ 66.8 ความรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับปานกลาง ร้อยละ 73.0 ทัศนคติต่อโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับปานกลาง ร้อยละ 75.1 การรับรู้เกี่ยวกับโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับปานกลาง ร้อยละ 67.4 พฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ระดับสูง ร้อยละ 46.9 ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 คือ การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (p |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/946 |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64224480.pdf | 2.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.