Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/935
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sarawut Hongthong | en |
dc.contributor | สราวุธ หงษ์ทอง | th |
dc.contributor.advisor | CHATTHIP CHAICHAKAN | en |
dc.contributor.advisor | ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T15:13:29Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T15:13:29Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 29/5/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/935 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were 1. study the process of Co-production public services in the development of a potential model sufficiency economy village of Ban Tam Phra Lae Moo 11, Ban Tam Subdistrict, Mueang District, Phayao Province and 2. study the model of Co-production of public services in the development of sufficiency economy villages of Ban Tam Phra Lae. Moo 11, Ban Tam Subdistrict, Muang District, Phayao Province. The research method was in accordance with qualitative research regulations. Research data collection uses semi-structured in-depth interviews with key informants, and data analysis uses content analysis techniques. The study found that Tam Phra Lae village attaches importance to collaboration in activities in all stages under the resolution of the meeting to reach a conclusion. Everyone will participate in the process, from planning, design. Selection, management and evaluation of improvements to Co-production public services more effective. There are two recommendations from the research: 1) Research has shown that village leaders play an important role in driving change and community development. Therefore, the new generation should be drawn into the role of co-production of public services in all aspects of the village 2) There should be more research on the concept of "coproduction". | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์การศึกษา 1. เพื่อศึกษากระบวนการร่วมกันผลิตบริการสาธารณะในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่มีศักยภาพ และ 2. เพื่อศึกษารูปแบบการร่วมกันผลิตบริการสาธารณะ ในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบที่มีศักยภาพของบ้านต๊ำพระแล หมู่ที่ 11 ตำบลบ้านต๊ำ อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา ซึ่งมีรูปแบบการดำเนินงานแบ่งเป็น 2 รูปแบบได้แก่ 1) การดำเนินงานด้วยตัวเองในหมู่บ้าน 2) การร่วมกันให้บริการสาธารณะกับภาคีเครือข่ายหน่วยงานราชการ และวิธีการเป็นไปตามระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้างกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้เทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า การพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในหมู่บ้านต๊ำพระแล ให้ความสำคัญกับการร่วมกันในการดำเนินกิจกรรมทุกขั้นตอนภายใต้การลงมติในที่ประชุม เพื่อให้ได้ข้อสรุปและแนวทางในการดำเนินงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทุกคนมีส่วนร่วมกันตามกระบวนการ ตั้งแต่การร่วมกันวางแผน การร่วมกันออกแบบ การร่วมกันคัดเลือก การร่วมกันบริหารจัดการ และการร่วมกันประเมินผลปรับปรุง เป็นไปตามหลักการและ รูปแบบของการร่วมกันผลิตบริการสาธารณะสำหรับข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย มี 2 ประการได้แก่ 1) ควรให้ความสำคัญและสนับสนุนเชิงนโยบายในเรื่องการร่วมกันบริหารจัดการ การร่วมกันผลิตบริการสาธารณะในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างเสริมชุมชนให้มีความเข้มแข็งและมีความเป็นอยู่ที่พอเพียง เป็นต้นแบบในการใช้ชีวิตแบบพึ่งพาตนเองในระยะยาว 2) ควรมีการส่งเสริมการเป็นเครือข่ายเชื่อมโยงกันในชุมชนและนอกชุมชน ในด้านต่างๆ รวมทั้งการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชนมาสร้างประโยชน์ได้อย่างเหมาะสม | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การร่วมกันผลิต | th |
dc.subject | บริการสาธารณะ | th |
dc.subject | Co- production | en |
dc.subject | Public service | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.subject.classification | Political science and civics | en |
dc.title | Co-production of public Service in Sufficiency Economy Village Development:case study of Bantampralae, Ban Tam, Mueang Phayao District, Phayao | en |
dc.title | การร่วมกันผลิตการบริการสาธารณะในการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง:กรณีศึกษา บ้านต๊ำพระแล ตำบลบ้านต๊ำ อำเภอเมืองจังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | CHATTHIP CHAICHAKAN | en |
dc.contributor.coadvisor | ฉัตรทิพย์ ชัยฉกรรจ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | chatthip.ch@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | chatthip.ch@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Administration (M.P.A. (Public Policy)) | en |
dc.description.degreename | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ)) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Public Policy | en |
dc.description.degreediscipline | นโยบายสาธารณะ | th |
Appears in Collections: | School of Political and Social Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64212948.pdf | 1.27 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.