Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/928
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTidaporn Kampaen
dc.contributorธิดาพร คำปาth
dc.contributor.advisorNumtip Smerchuaren
dc.contributor.advisorน้ำทิพย์ เสมอเชื้อth
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T15:13:28Z-
dc.date.available2024-02-14T15:13:28Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/928-
dc.description.abstractThis research aimed 1) to study management methods for the elderly school established in Mae Puem subdistrict, Mueang Phayao district, Phayao Province, 2) to study achievement factors of the elderly school, and 3) to conduct suggestions for the elderly school management. This research is considered qualitative research. The data was collected was gathered from 16 vital information providers by using a procedure of semi-structured interview.  The findings revealed that the key success factors of the elderly school management contain as follows. Firstly, the internal factor: management which consists of 1) planning: data arrangement, data analysis, plan determination, implementation of the plan, and evaluation, 2) organization management in which the structure of personnels was specified and the responsibilities of personnels were explicitly assigned, 3) Leading by the leader with vision and playing as the change agent leaders who initiated the alteration have positive visions, and 4) control through the monthly monitoring program  in which monthly evaluation was monitored. The other one is the external factor: participation of consultants who participated in all-method management: planning, operation, benefit adoption, and evaluation, in which strong social networks and leaders, modern communication systems, information system arrangement, sufficient supporting resources, and mutual learning systems are relevantly included.  With regard to the suggestions for development, it was found that potentials of leaders and voluntary teachers should be enhanced in terms of technological use for supporting communicative workfields, publicizing any operation in order to catch attentions of elders in terms of participating in the elderly school’s activities, and collaborating with external networks in order to encourage the generation of strong and permanent social collaboration.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 2) เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จของโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา 3) เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ 16 คน โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง  ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยความสำเร็จของการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่ปืม ประกอบไปด้วย ปัจจัยภายใน คือ การบริหารจัดการ ประกอบด้วย 1) การวางแผน ได้แก่ การเตรียมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การกำหนดแผน การดำเนินการตามแผน และการวัดประเมินผล 2) การจัดองค์กร มีการกำหนดโครงสร้างบุคลากร และมอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน 3) การนำ โดยผู้นำมีวิสัยทัศน์ เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง 4) การควบคุม มีการติดตามการประเมินผลทุกเดือน ส่วนปัจจัยภายนอก คือ การมีส่วนร่วมของคณะที่ปรึกษา มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทุกขั้นตอน โดยมีส่วนร่วมในด้านการวางแผน ด้านการดำเนินงาน ด้านการรับผลประโยชน์ และด้านการประเมินผล และการมีเครือข่ายสังคมที่เข้มแข็งพร้อมกับผู้นำที่เข้มแข็ง ระบบการติดต่อสื่อสารที่ ทันสมัย มีการจัดระบบสารสนเทศ มีทรัพยากรสนับสนุนอย่างเพียงพอ และมีการระบบการเรียนรู้ร่วมกัน  ส่วนข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา พบว่า ควรเพิ่มการพัฒนาศักยภาพผู้นำ และครูจิตอาสา ในด้านการใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยสนับสนุนงานด้านการติดต่อสื่อสาร ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานต่าง ๆ เพื่อขยายผลให้ผู้สูงอายุสนใจเข้าร่วมกิจกรรมของโรงเรียนผู้สูงอายุ และการประสานความร่วมมือไปยังเครือข่ายภายนอก เพื่อกระตุ้นให้เกิดความร่วมมือทางสังคมที่เข้มแข็งและยั่งยืนth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารจัดการth
dc.subjectการมีส่วนร่วมth
dc.subjectเครือข่ายสังคมth
dc.subjectโรงเรียนผู้สูงอายุth
dc.subjectManagementen
dc.subjectParticipationen
dc.subjectSocial Networken
dc.subjectElderly schoolen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.titleKEY SUCCESS FACTORS IN THE ELDERLY SCHOOL MANAGEMENT: CASE STUDY OF MAEPUEM SUB-DISTRICT, MUEANG PHAYAO DISTRICT, PHAYAO PROVINCEen
dc.titleปัจจัยความสำเร็จของการบริหารจัดการโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลแม่ปืมอำเภอเมืองพะเยา จังหวัดพะเยาth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorNumtip Smerchuaren
dc.contributor.coadvisorน้ำทิพย์ เสมอเชื้อth
dc.contributor.emailadvisornumtip.sm@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisornumtip.sm@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Public Administration (M.P.A. (Public Policy))en
dc.description.degreenameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplinePublic Policyen
dc.description.degreedisciplineนโยบายสาธารณะth
Appears in Collections:School of Political and Social Science

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64212869.pdf1.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.