Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/889
Title: THE STUDY OF ADMINISTRATIVE SKILLS OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDERTHE OFFICE PHRAE PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1
การศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1
Authors: Prattana Khanork
ปรารถนา แขนอก
Sopa Umnuayrat
โสภา อำนวยรัตน์
University of Phayao
Sopa Umnuayrat
โสภา อำนวยรัตน์
sopa.am@up.ac.th
sopa.am@up.ac.th
Keywords: ทักษะการบริหาร
ผู้บริหารโรงเรียน
Administrative Skills
School Administrators
Issue Date:  29
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this research was to  under the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 and to compare the opinions of teachers towards administrative skills of school administrators. Under the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 classified by gender Work experience and the size of the school. The sample group was 254 teachers in educational institutions under the Phrae Primary Educational Service Area 1, totaling 254 people. Craigie and Morgan Stratified random sampling was used to determine the proportion according to the size of the school population. Stratified random sampling was used to determine the proportion according to the size of the school population. The instrument used was a 5-point estimation scale questionnaire with a concordance index between 0.67-1.00 and a confidence value of 0.974. Statistics used in data analysis were percentage, mean  standard deviation, T-test,  F-test, and one-way analysis of variance (ANOVA) when statistically significant differences were found, they were tested individually by Scheffe's method. The research findings were as follows: 1) Teachers' opinions on administrative skills of school administrators Under the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 was at a high level. 2) The comparative effect of teachers' opinions on administrative skills of school administrators under the Office of Phrae Primary Educational Service Area 1 classified by gender, work experience and the size of the school It was found that there was a statistically significant difference at the 0.05 level.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อทักษะการบริหารของบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 จำนวน 254 คน ใช้วิธีการคำนวณหาจำนวน กลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของเครจซี่และมอร์แกน ทำการสุ่มแบบแบ่งชั้นแล้วนำมากำหนดสัดส่วนตามขนาดของ กลุ่มประชากรในโรงเรียน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ค่าดัชนีความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.974 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (T-test) และการทดสอบค่าเอฟ (F-test) และวิเคราะห์ความแปรปรวน ทางเดียว (One Way Anova) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะทำการทดสอบเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffe’) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 พบว่าโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแพร่ เขต 1 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษา พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/889
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64205186.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.