Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/873
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMiss kritchakorn Sunanen
dc.contributorกฤษชกร สุหนั่นth
dc.contributor.advisorThararat Malaitaoen
dc.contributor.advisorธารารัตน์ มาลัยเถาว์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T13:16:13Z-
dc.date.available2024-02-14T13:16:13Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued29/5/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/873-
dc.description.abstractThe purpose of this research was 1) to study the education institute administration to raise the quality of education management under the project Quality and Happy Classroom of schools under the Secondary Educational Service Area Office, Phitsanulok, Uttaradit. and 2) to compared the education institute administration to raise the quality of education management under the project Quality and Happy Classroom of schools under the Secondary Educational Service Area Office, Phitsanulok, Uttaradit according to teacher opinion. Classified by work experiences and school size. The sample group in this study was 328 teachers of the Secondary Educational Service Area Office, Phitsanulok, Uttaradit. The research instrument was a rating scale for 5 levels. The statistics used to analyze the data were percentage, mean and standard deviation and the (One way ANOVA) when statistics significant differences were found, pairwise tests were performed using the Scheffe’s method. The research of this research found that 1) Education institute administration to raise the quality of education management under the project Quality and Happy Classroom of schools under the Phitsanulok Secondary Educational Service Area Office, Uttaradit was found that the overall figure was at a high level. Sort as follows:  Promotion of learning management of school administrators, classroom conditions, learning management of teachers, and the academic performance of the students. 2) The results of the comparison of educational institution administration to improve the quality of educational management under the project Quality and Happy Classroom of schools under the Secondary Educational Service Area Office, Phitsanulok, Uttaradit classified by work experience the result showed that overall differences and statistically significant. Classified by school size, the result showed that they were not different.  at the level .05 level. When considering each side, it was found that the learning management of teachers is different. Statistically significant at the .05 level.en
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้โครงการ ห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล พัฒนาวิถีใหม่ ได้วิถีคุณภาพ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้โครงการ ห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล พัฒนาวิถีใหม่ ได้วิถีคุณภาพ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์  ตามความคิดเห็นของครูจำแนกตามประสบการณ์การทำงานและขนาดของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จำนวน 328 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA)  การเปรียบเทียบรายคู่ของ Scheffe’s ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้โครงการ ห้องเรียนน่าอยู่  การเรียนรู้ก้าวไกล  พัฒนาวิถีใหม่  ได้วิถีคุณภาพ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับดังนี้ ด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านสภาพห้องเรียน ด้านการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน และด้านผลการเรียนรู้ของผู้เรียน  2) ผลการเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้โครงการห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล พัฒนาวิถีใหม่ ได้วิถีคุณภาพ ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จำแนกตามประสบการณ์การทำงานโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ จำแนกตามขนาดของโรงเรียนโดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาth
dc.subjectห้องเรียนน่าอยู่ การเรียนรู้ก้าวไกล พัฒนาวิถีใหม่ ได้วิถีคุณภาพth
dc.subjectRaising the quality of education managementen
dc.subjectQuality and Happy Classroomen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA STUDY EDUCATIONAL INSTITUTE ADMINISTRATION TO RAISE THE QUALITY OF EDUCATION MANAGEMENT UNDER THE PROJECT QUALITY AND HAPPY CLASSROOM OF SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE,  PHITSANULOK, UTTARADITen
dc.titleการศึกษาการบริหารสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ภายใต้โครงการ ห้องเรียนน่าอยู่การเรียนรู้ก้าวไกล พัฒนาวิถีใหม่ ได้วิถีคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorThararat Malaitaoen
dc.contributor.coadvisorธารารัตน์ มาลัยเถาว์th
dc.contributor.emailadvisorthararat_tacky@hotmail.com
dc.contributor.emailcoadvisorthararat_tacky@hotmail.com
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64205007.pdf1.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.