Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/79
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Tidtaya Pirabun | en |
dc.contributor | ธิษตยา ภิระบัน | th |
dc.contributor.advisor | Namfon Gunma | en |
dc.contributor.advisor | น้ำฝน กันมา | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-25T03:43:41Z | - |
dc.date.available | 2019-11-25T03:43:41Z | - |
dc.date.issued | 17/12/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/79 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | This research The purpose of this study was to determine the level of academic administration of basic education institutions. The results of the study were as follows: To study the relationship between academic administration and the effectiveness of basic education institutions. The population in the research. Is the teacher in the school. Chiang Rai District Primary Education Office Area 1, 322 persons, who performed the duty in the academic year 2560. Tools used in the study. This is a questionnaire. The questionnaire was divided into 3 parts, ie the general information of the respondents. A questionnaire for academic administration and effectiveness of educational institutions. And the questionnaire about the development. Academic Administration and School Effectiveness. Statistics used in data analysis were percentage, mean and standard deviation. The research findings were as follows: 1) The relationship between academic administration With the effectiveness of Basic education It is the responsibility of the school administrator to ensure that the student is in the best possible position. Local management of teaching and learning in schools. The development and promotion of learning resources, the development of internal quality assurance and educational standards for curriculum development. The development of the learning process. Promotion and support Individuals, families, organizations, agencies, establishments and other institutions that provide educational research to improve the quality of education in educational institutions. Education supervision Collaboration in academic development with educational institutions and other organizations in the formulation of regulations and guidelines on academic work of educational institutions. The selection of text books for use in schools. The development and use of technology for education respectively, the guidance is the lowest. 2) The effectiveness of basic education institutions. Under the Office of Educational Service Area Chiang Rai Elementary School District 1 is a very good overall. When considering each aspect, it was found that the highest mean of two aspects was the satisfaction of teachers. The ability to use the media, innovation and technology of the teacher, followed by the pursuit of knowledge, love, reading, seeking self-knowledge, the next is the ability to adjust to the state. Environment that affects both internal and external. The ability to allocate resources. Effectively, the average is lowest. 3) The relationship between academic administration and the effectiveness of basic education institutions under the Office of Educational Service Area Chiang Rai Primary School District 1 has a relationship. Positive in very high level. Statistically significant at .01 level | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลของของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดเขตสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 ประชากรในการวิจัย เป็นครูในสถานศึกษา สังกัดเขตสำนักงานเขตพื้นที่ศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 จำนวน 322 คน ที่ปฏิบัติหน้าที่ในปีการศึกษา 2560 เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ครั้งนี้เป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ฉบับ โดยใช้คำถาม แบ่งออกเป็น 2 ตอนคือ ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม และแบบสอบถามเพื่อสอบถามการบริหารงานวิชาการและประสิทธิผลของสถานศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการ กับประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ศึกษาประถมศึกษา เชียงราย เขต 1 โดยรวมและรายด้าน มีคุณลักษณะผู้นำสถานศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุดและมาก เรียงลำดับจากมากไปน้อย ดังนี้ ด้านการพัฒนาหรือการดำเนินการเกี่ยวกับการให้ความเห็นการพัฒนาสาระหลักสูตรท้องถิ่น ด้านการจัดการเรียนการสอนในสถานศึกษา ด้านการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา ด้านการนิเทศการศึกษา ด้านการพัฒนาและส่งเสริมให้มีแหล่งเรียนรู้ ด้านการประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับสถานศึกษาและองค์กรอื่น ด้านการคัดเลือกหนังสือ แบบเรียนเพื่อใช้ในสถานศึกษา ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาและการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ด้านการจัดทำระเบียบและแนวปฏิบัติเกี่ยวกับงานด้านวิชาการของสถานศึกษา ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ด้านการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพภายในและมาตรฐานการศึกษา ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรหน่วยงานสถานประกอบการและสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา ส่วนด้านการแนะแนว มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) ประสิทธิผลของของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความพึงพอใจในการทำงานของครู ด้านความสามารถในการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีของครู รองลงมาคือ ด้านความใฝ่รู้ รักการอ่าน แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ถัดไปคือ ด้านความสามารถในการปรับเปลี่ยนต่อสภาวะแวดล้อมที่มากระทบทั้งภายในและภายนอก ส่วนด้านความสามารถในการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพมีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผลสถานศึกษา | th |
dc.subject | The relationship between academic administration and school effectiveness | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Relationship between academic management and effectiveness of basic education institutes under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 1. | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานวิชาการกับประสิทธิผล ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 1 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59170079.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.