Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/786
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTheerathan Ruchangkunen
dc.contributorธีรธาร รุจางกูรth
dc.contributor.advisorTharin Rasanonden
dc.contributor.advisorธารินทร์ รสานนท์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayaoen
dc.date.accessioned2024-02-14T11:27:46Z-
dc.date.available2024-02-14T11:27:46Z-
dc.date.created2023
dc.date.issued16/10/2023
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/786-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to study school administrators’ innovative leadership under the Secondary Educational Service Area Office 2, 2) to study teachers’ academic performance in schools under the Secondary Educational Service Area Office 2, 3) to study the relationship between school administrators’ innovative leadership and teachers’ academic performance in schools under the Secondary Educational Service Area Office 2. The sample were 373 secondary school teachers in schools under the Secondary Education Service Area Office 2, The instrument used to collect data was a 5 rating scale questionnaire with the reliability at 0.95. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The research results were as follow: 1) the school administrators’ innovative leadership under the Secondary Educational Service Area Office 2 in overall and each aspect were rated at a high level. In orderly: innovative creativity, management and delegation, external organization relationship, vision and mission,  teamwork and participation and being an innovative cultural. 2) Teachers’ academic performance in overall and each aspect were rated at a high level. In orderly were: research on improving the quality of education, the development of innovative, media and educational technology, the development of learning resources, the educational curriculum development, the measurement and evaluation and the development of learning process. 3) The relationship between school administrators’ innovative leadership and teachers’ academic performance was positively related at moderate level with the statistically significant at .01 (r = .447en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 2) ศึกษาการปฏิบัติงานวิชาการของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2  3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับการปฏิบัติงานวิชาการของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูโรงเรียนมัธยมศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 373 คน  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2  โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด ดังนี้ ด้านการคิดสร้างสรรค์เชิงนวัตกรรม ด้านการบริหารและการมอบอำนาจ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ภายนอกองค์กร ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์และพันธกิจ ด้านการสร้างทีมงานและการมีส่วนร่วม และด้านการสร้างวัฒนธรรมองค์กรนวัตกรรม  2) การปฏิบัติงานวิชาการของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2  โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก  โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด ดังนี้ ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ด้านการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการวัดผล ประเมินผล และเทียบโอนผลการเรียน  และ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้  3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมกับการปฏิบัติงานวิชาการของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2 โดยภาพรวม พบว่า มีความสัมพันธ์ในทางบวก อยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r =.447th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectผู้บริหารการศึกษาth
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectการปฏิบัติงานวิชาการth
dc.subjectInnovative Leadershipen
dc.subjectSchool Administratorsen
dc.subjectTeachers' Academic Performanceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers with subject specialisationen
dc.titleRELATIONSHIP BETWEEN SCHOOL ADMINISTRATORS' INNOVATIVE LEADERSHIP AND TEACHERS' ACADEMIC PERFORMANCE IN SCHOOLS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE BANGKOK 2en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับ การปฏิบัติงานวิชาการของครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 2th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
dc.contributor.coadvisorTharin Rasanonden
dc.contributor.coadvisorธารินทร์ รสานนท์th
dc.contributor.emailadvisortharin.ra@up.ac.th
dc.contributor.emailcoadvisortharin.ra@up.ac.th
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineEducational Administrationen
dc.description.degreedisciplineการบริหารการศึกษาth
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64160175.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.