Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/775
Title: RELATIONSHIP BETWEEN INTERNAL SUPERVISION MODELS AND TEACHERS' LEARNING MANAGEMENT IN THE CENTRAL SPECIAL EDUCATION CENTER, BANGKOK
ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการนิเทศภายในและการจัดการเรียนรู้ของครู ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร
Authors: Yaowaret Singtong
เยาวเรศ สิงห์ทอง
Tharin Rasanond
ธารินทร์ รสานนท์
University of Phayao
Tharin Rasanond
ธารินทร์ รสานนท์
tharin.ra@up.ac.th
tharin.ra@up.ac.th
Keywords: รูปแบบการนิเทศภายใน; การจัดการเรียนรู้ของครู; ศูนย์การศึกษาพิเศษ
internal supervision model; teachers’ learning management; Special Education Center
Issue Date:  16
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purposes of this research were 1) to study the internal supervision models of the Central Special Education Center, Bangkok 2) to study the teachers’ learning management in the Central Special Education Center, Bangkok and 3) to study the relationship between the internal supervision models and teachers’ learning management in the Central Special Education Center, Bangkok. The sample were 115 teachers of the Central Special Education Center, Bangkok. The research instrument was a 5 rating scale questionnaire with the validity 0.67-1.00 and the reliability 0.98. The statistics used to analyze the data were frequency, percentage, mean, standard deviation and Pearson’s product moment correlation coefficient. The findings were as follow 1) the internal supervision models of the Central Special Education Center, Bangkok was overall rated at a high level, 2) teachers’ learning management in the Central  Special Education Center, Bangkok was overall rated at a highest level, 3) the relationship between the internal supervision models and teachers’ learning management in the Central Special Education Center, Bangkok was overall positively correlated at fairy high level with a statistical significance at .01
การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการปฏิบัติการนิเทศภายในแต่ละรูปแบบของศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาการจัดการเรียนรู้ของครูในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการนิเทศภายในกับการจัดการเรียนรู้ของครูในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลางจำนวน 115 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) การปฏิบัติการนิเทศภายในแต่ละรูปแบบของศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) การจัดการเรียนรู้ของครู ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการนิเทศภายในกับการจัดการเรียนรู้ของครู ในศูนย์การศึกษาพิเศษ ส่วนกลาง กรุงเทพมหานคร พบว่า โดยรวมมีค่าความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับค่อนข้างสูง (r=.763) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/775
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63160309.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.