Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/747
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pattareeya Napalai | en |
dc.contributor | ภัทรียา นภาลัย | th |
dc.contributor.advisor | Katekaew Seangpraw | en |
dc.contributor.advisor | เกษแก้ว เสียงเพราะ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao | en |
dc.date.accessioned | 2024-02-14T10:53:51Z | - |
dc.date.available | 2024-02-14T10:53:51Z | - |
dc.date.created | 2023 | |
dc.date.issued | 7/3/2023 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/747 | - |
dc.description.abstract | The purpose of this cross-sectional study was to look into the effects of the COVID-19 outbreak on the knowledge, stress, mental health, self-care behaviors, and quality of life of elderly people with noncommunicable diseases in Chiang Rai province. The PRECEDE - PROCEED MODEL was used in this study to define the following factors: (1) Predisposing factors such as gender, age, marital status, educational level, occupation, income adequacy, smoking, alcohol consumption, knowledge, stress, and mental health. (2) Enabling factors include health status, access to public health services, and quality of life. (3) Reinforcing factors include caregivers, access to health information, and self-care behaviors. The study included 450 elderly people who were diagnosed with chronic noncommunicable diseases such as hypertension, diabetes, stroke, and chronic kidney disease. Data collection was done from interviews using questionnaires. The instruments used in the research were interviews: the Stress Scale (SPST-20), the Mental Health Problem Screening Questionnaire (GHQ -28), the World Health Organization Quality of Life Assessment Scale (WHOQOL – BREF – THAI) and self-care behaviors. Data was collected and analyzed using descriptive statistics, and correlation was tested using Univariable analysis, Simple Regression, and the Pearson correlation coefficient. According to the findings of the predisposing factors study, covid-19 knowledge, stress, and mental health were statistically related to self-care behaviors (p-value 0.01), and alcohol use was related to quality of life (p-value 0.05). In terms of enabling factors, the number of chronic diseases and COVID-19 testing were found to be negatively correlated with self-care behaviors (p-value 0.05). Complications variables showed that those with diabetes, hypertension, and dyslipidemia were positively correlated with self-care behaviors (p-value < 0.05). In terms of reinforcing factors, it was discovered that information received was related to self-care behavior (p-value 0.05), and self-care behaviors were significantly related to elderly quality of life (p-value 0.01). The discussion emphasized the importance of COVID-19 knowledge and self-care behaviors on the elderly, as well as improving the quality of life of the elderly with noncommunicable diseases during the COVID-19 outbreak. Moreover, during the epidemic, there was a high rate of stress and mental health problems among the elderly. The intervention focuses on health education programs for the elderly suffering from noncommunicable diseases like hypertension, diabetes, hyperlipidemia, and heart disease. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการระบาดของโรคโควิด-19 ต่อ ความรู้ ความเครียด สุขภาพจิต พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเอง และคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่ ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดเชียงราย การศึกษานี้ใช้กรอบแนวคิด PRECEDE-PROCEED MODEL กำหนดปัจจัย 3 กลุ่มปัจจัย คือ ปัจจัยนำ ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ ความเพียงพอของรายได้ การสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ความรู้ ความเครียด สุขภาพจิต ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ สถานะสุขภาพ การเข้าถึงบริการสาธารณสุข คุณภาพชีวิต และปัจจัยเสริม ได้แก่ ผู้ดูแล การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารทางด้านสุขภาพ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ และกลุ่มตัวอย่าง 450 คน เป็นผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง และได้รับการวินิจฉัยโดยแพทย์ เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ ได้แก่ แบบวัดความเครียด (SPST-20) แบบคัดกรองปัญหาสุขภาพจิต (GHQ-28) แบบประเมินคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ (WHOQOL–BREF–THAI) และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพ การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยสถิติอ้างอิง แบบ Univariable analysis การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นอย่างง่าย (Simple Regression Analysis) และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Pearson correlation coefficient) ผลการศึกษา ปัจจัยนำพบว่าความรู้ที่เกี่ยวกับโควิด-19 ความเครียด สุขภาพจิต มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการดูแลตนเอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.01) การดื่มแอลกอฮอล์มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิต (p-value < 0.05) ปัจจัยเอื้อพบว่า จำนวนโรคเรื้อรังร่วม และการตรวจโควิด-19 มีความสัมพันธ์เชิงลบกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง (p-value < 0.05) ตัวแปรโรคแทรกซ้อนพบว่า ผู้ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเส้นเลือด มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับพฤติกรรมการดูแลตนเอง (p-value < 0.05) และปัจจัยเสริมพบว่า การได้รับข้อมูลข่าวสารมีความสัมพันธ์พฤติกรรมการดูแลตนเอง (p-value < 0.05) พฤติกรรมการดูแลตนเองมีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.01) การอภิปรายผลชี้ให้เห็นความสำคัญของความรู้ และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพจากโรควิด-19 ต่อผู้สูงอายุและการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุที่เป็นโรค ไม่ติดต่อในช่วงการระบาดของโรควิด-19 นอกจากนี้ยังมีอัตราความเครียด และปัญหาสุขภาพจิตสูงในผู้สูงอายุในช่วงการระบาด การจัดกิจกรรมมุ่งเน้นโปรแกรมการให้ความรู้ด้านสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่เป็นโรค ไม่ติดต่อ เช่น โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง และโรคหัวใจ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | โควิด-19 | th |
dc.subject | ความรู้เกี่ยวกับโควิด-19 | th |
dc.subject | ความเครียด | th |
dc.subject | สุขภาพจิต | th |
dc.subject | พฤติกรรมการดูแลตนเอง | th |
dc.subject | คุณภาพชีวิต | th |
dc.subject | ผู้สูงอายุที่ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง | th |
dc.subject | COVID-19 | en |
dc.subject | Knowledge | en |
dc.subject | Stress | en |
dc.subject | Mental Health | en |
dc.subject | Self-care behaviors | en |
dc.subject | Quality of life | en |
dc.subject | Elderly | en |
dc.subject | NCDs | en |
dc.subject | Elderly Patients with Non-Communicable Diseases | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Medicine | en |
dc.title | Impact of the COVID-19 Pandemic toward Knowledge, Stress, Mental Health, Self-care behaviors and Quality of life among Elderly Patients with Non-Communicable Diseases Chiang Rai province | en |
dc.title | ผลกระทบการระบาดโรคไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อความรู้ ความเครียด สุขภาพจิต พฤติกรรมการดูแลตนเอง และคุณภาพชีวิต ของผู้สูงอายุที่ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดเชียงราย | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
dc.contributor.coadvisor | Katekaew Seangpraw | en |
dc.contributor.coadvisor | เกษแก้ว เสียงเพราะ | th |
dc.contributor.emailadvisor | katekaew.se@up.ac.th | |
dc.contributor.emailcoadvisor | katekaew.se@up.ac.th | |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | en | |
dc.description.degreediscipline | th | |
Appears in Collections: | School of Medicine |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63054693.pdf | 5.52 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.