Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/682
Title: DISCOURSE OF MARGINALITY IN THE S.E.A. WRITE AWARDS SHORT STORIES A.D. 2008-2017
วาทกรรมชายขอบในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560
Authors: Kittisak Kaewta
กิตติศักดิ์ แก้วตา
Watcharin Kaenchan
วัชรินทร์ แก่นจันทร์
University of Phayao
Watcharin Kaenchan
วัชรินทร์ แก่นจันทร์
vajarindra.ka@up.ac.th
vajarindra.ka@up.ac.th
Keywords: วาทกรรม
ชายขอบ
เรื่องสั้น
รางวัลซีไรต์
discourse
marginal
short story
S.E.A. Write Award
Issue Date:  7
Publisher: University of Phayao
Abstract: The objectives of this study were to 1) analyze the reflection of marginality in the short stories of the S.E.A. Write Awards between A.D. 2008-2017 2) analyze the process of establishing marginality in the collections of the 4 S.E.A. Write Award Winning collections of short stories between A.D. 2008-2017 in total 45 stories. The theorical framework used were as follows: Norman Fairclough’s Critical Discourse Analysis: CDA, Post Modernism, and Otherness. The results of the study showed the 7 aspects of the reflection of marginality. The most frequently reflected were as status and behavior, economic and occupation, geography, health and public health, society and culture, education, and politics and government, respectively. As for the process of establishing marginality, there were 13 processes founded including opinion judging, state power enforcing, hatred showing, 4) discriminating and banishing, threatening and scolding, abusing and bullying, cursing, ignoring and being indifferent, manslaughtering, sexual harassment, mocking, assaulting, and media using, respectively. All of which were the strategies resulted from thoughts, behaviors, conversations, or conflicts between characters. Also, they were the processes of constructing marginality in both social and cultural dimension, or thinking dimension rather than geographical dimension.
งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์ภาพสะท้อนความเป็นชายขอบในเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560 2) เพื่อวิเคราะห์กระบวนการสร้างความเป็นชายขอบในรวมเรื่องสั้นรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2551-2560 จำนวน 4 เล่ม รวม 45 เรื่อง โดยใช้กรอบวาทกรรมวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ (Critical Discourse Analysis : CDA) ของนอร์แมน แฟร์เคลาฟ์ (Norman Fairclough) แนวคิดกระบวนการสร้างความเป็นชายขอบตามแนวคิดหลังทันสมัยนิยม (Post Modernism) และแนวคิดความเป็นอื่น มาใช้ในการวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า ภาพสะท้อนความเป็นชายขอบมีทั้งสิ้น 7 ด้าน ปรากฏมากที่สุดคือ ด้านสถานภาพและพฤติกรรม รองลงมาคือ ด้านเศรษฐกิจและอาชีพ ด้านภูมิศาสตร์ ด้านสุขภาพและสาธารณสุข ด้านสังคมและวัฒนธรรม ด้านการศึกษา และด้านการเมือง การปกครอง ตามลำดับ ส่วนกระบวนการสร้างความเป็นชายขอบ มี 13 กระบวนการ พบมากที่สุดคือ การตัดสินด้วยความคิดเห็น รองลงมาคือ การใช้อำนาจรัฐ การแสดงความเกลียดชัง การแบ่งแยกและการขับไล่ การข่มขู่และดุด่าว่ากล่าว การกลั่นแกล้งและรังแก การสาปแช่ง การเพิกเฉยและไม่สนใจ การกระทำให้ถึงแก่ความตาย การล่วงละเมิดทางเพศ การแสดงท่าทีตลกขบขัน การทำร้ายร่างกาย และการใช้สื่อ ตามลำดับ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเป็นกลวิธีการสร้างผ่านความคิด พฤติกรรม บทสนทนา หรือความขัดแย้งของตัวละคร และเป็นกระบวนการสร้างความเป็นชายขอบในมิติทางสังคมและวัฒนธรรม หรือมิติทางความคิดมากกว่ามิติทางภูมิศาสตร์
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/682
Appears in Collections:School of Liberal Arts

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62114037.pdf2.7 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.