Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/676
Title: | THE DYNAMICS LINGUISTIC CULTURE IN TAI YA’S WAY OF LIFE CHIANG RAI พลวัตวัฒนธรรมภาษาในวิถีชีวิตของชาวไตหย่าเชียงราย |
Authors: | Bussarakham Yodchalood บุษราคัม ยอดชะลูด Warawat Sriyabhaya วรวรรธน์ ศรียาภัย University of Phayao Warawat Sriyabhaya วรวรรธน์ ศรียาภัย warawat.sr@up.ac.th warawat.sr@up.ac.th |
Keywords: | ภาษาไตหย่าเชียงราย พลวัตวัฒนธรรมภาษา ความหลากหลายการใช้ภาษา Chiang Rai-Tai Ya language dynamics of language culture diversity of language use |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | The purposes of this research are to study the characteristics of language change from Chiang Rai-Tai Ya language and to study the diversity of language use in relation to the way of life of the Chiang Rai-Tai Ya people by using the discourse from Chiang Rai -Tai Ya informants. The research findings have been summarized as follows: 1) The Chiang Rai-Tai Ya language has identified its linguistic characteristics and language changes. The characteristics of Chiang Rai-Tai Ya language can be categorized into 6 groups: 1.1) sounds consisting of 20 consonant sounds, 18 vowel sounds, and 5 tonal sounds 1.2) words can be classified in 2 ways: word formation and word types 1.3) sentences can be classified in 2 way: sentences according to the structure and sentences according to the communication intention 1.4) phrases 1.5) paragraphs and 1.6) text. Concerning the change of Chiang Rai-Tai Ya language, the researcher analyzed the data using five age groups ranging from 30 to 80 years old. The study discovered the following three modifications to the Chiang Rai-Tai Ya language: 1) sound alteration 2) word alteration and 3) word order alteration. 2) Regarding the diversity of language use in relation to the lifestyle of the Chiang Rai-Tai Ya people, the research results can be summarized as 4 factors: language associated with daily routines, language associated with tradition, language associated with belief and religion, and language associated with music, performance, and literature. There are currently three languages that Chiang Rai-Tai Ya people use to communicate: Chiang Rai-Tai Ya language, Chiang Rai-Thai dialect, and Bangkok-Thai language. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงของภาษาไตหย่าเชียงราย และความหลากหลายการใช้ภาษาสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวไตหย่าเชียงราย โดยใช้ข้อมูลภาษาระดับข้อความจากผู้บอกข้อมูลชาวไตหย่าเชียงราย ผลการวิจัยโดยสรุปแบ่งเป็น 2 ประเด็น ดังนี้ 1) ภาษาไตหย่าเชียงราย พบลักษณะภาษาไตหย่าเชียงราย และการเปลี่ยนแปลงของภาษาไตหย่าเชียงราย ลักษณะภาษาไตหย่าเชียงรายจำแนกข้อมูลได้ 6 ประการ ได้แก่ 1.1) เสียง ประกอบด้วยเสียงพยัญชนะ 20 เสียง เสียงสระ 18 เสียง และเสียงวรรณยุกต์ 5 เสียง 1.2) คำ จำแนกได้ 2 ประการ ได้แก่ การสร้างคำ และชนิดของคำ 1.3) ประโยค จำแนกได้ 2 ประการ ได้แก่ ประโยคตามโครงสร้าง และประโยคตามเจตนาของการสื่อสาร 1.4) วลี 1.5) ย่อหน้า 1.6) ข้อความ และการเปลี่ยนแปลงของภาษาไตหย่าเชียงราย ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้กลุ่มอายุเป็นเกณฑ์ 5 กลุ่ม ตั้งแต่อายุ 30-80 ปี พบการเปลี่ยนแปลงของภาษาไตหย่าเชียงราย 3 ประการ ได้แก่ 1) การเปลี่ยนแปลงเสียง 2) การเปลี่ยนแปลงคำ และ 3) การเปลี่ยนแปลงการเรียงคำ 2) ความหลากหลายการใช้ภาษาสัมพันธ์กับวิถีชีวิตของชาวไตหย่าเชียงราย ผลการวิจัยสรุปได้ 4 ประการ ได้แก่ ภาษาสัมพันธ์กับกิจวัตรประจำวัน ภาษาสัมพันธ์กับประเพณี ภาษาสัมพันธ์กับความเชื่อและศาสนา และภาษาสัมพันธ์กับการดนตรี การแสดง และวรรณศิลป์ ภาษาที่ชาวไตหย่าเชียงรายใช้สื่อสารในปัจจุบัน ประกอบด้วย 3 ภาษา คือ ภาษาไตหย่าเชียงราย ภาษาไทยถิ่นเชียงราย และภาษาไทยกรุงเทพฯ |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/676 |
Appears in Collections: | School of Liberal Arts |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60113999.pdf | 8.37 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.