Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/616
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sawrawich Sittiyos | en |
dc.contributor | สรวิชญ์ สิทธิยศ | th |
dc.contributor.advisor | Patipat Vongruang | en |
dc.contributor.advisor | ปฏิพัทธ์ วงค์เรือง | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Medicine | en |
dc.date.accessioned | 2022-11-02T06:11:03Z | - |
dc.date.available | 2022-11-02T06:11:03Z | - |
dc.date.issued | 17/10/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/616 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | Establish health behaviors in youth to prevent PM2.5 in biomass-burning areas. The communication of PM2.5 information is challenging to understand and implement. Considerable research found that young people are the most effective health behavior practices. This research aims to apply health communication technology for PM2.5 prevention and health promotion behavior in the youth group during the smog episode. The samples were 35 students from secondary school. The participate studies program uses the PM2.5 measurement and clean room technology as tool transfer and supports the knowledge and situations created following the environmental health concepts. The research showed that before-after design was comparable, and static analysis was used to count, average, percentage, and standard deviation. The result shows that the increase in environmental health knowledge from moderate to good levels was 15.54 (S.D. = 3.41) to 18.39 (S.D. = 18.39), which was significantly different from the 0.05 level (p-value < 0.001). The content consists of access to environmental health Information, understanding of environmental health Information, an inspection of environmental health Information, and health protection decisions. Content percentages increased to 45.71, 25.72, 31.43, and 17.14, respectively. Then, the PM2.5 prevention behaviors increased from bad to moderate from 19.71 (S.D. = 3.12) to 22.37 (S.D. = 4.24), which was significantly different at the 0.05 level (p-value < 0.001). Applying health communication technology through the learning process is an effective tool for creating healthy behaviors. It has to be applied appropriately to the sample context to get the most benefit. | en |
dc.description.abstract | การสร้างพฤติกรรมสุขภาพแก่เยาวชนในการป้องกัน PM2.5 ในพื้นที่ประสบปัญหาการเผาในที่โล่งเป็นสิ่งสำคัญ การสื่อสารข้อมูล PM2.5 เป็นเรื่องยากในการเข้าใจและนำมาปฏิบัติ ในขณะที่หลายงานวิจัยพบว่าเยาวชนเป็นกลุ่มที่สามารถสร้างพฤติกรรมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีจุดประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อสารสุขภาพเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกัน PM2.5 ของกลุ่มเยาวชนในช่วงปัญหาหมอกควันรุนแรง ประชากรที่ศึกษาเป็นกลุ่มเยาวชนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาจำนวน 35 คน โดยใช้โปรแกรมการเรียนการสอนเป็นกิจกรรมเน้นการมีส่วนร่วม ใช้เทคโนโลยีการตรวจวัดระดับ PM2.5 และห้องเรียนปลอดฝุ่น เป็นเครื่องมือถ่ายทอดความรู้และจำลองสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงภายในพื้นที่ นำแนวคิดด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมมาสนับสนุนการดำเนินงาน โดยการวิจัยเป็นการเปรียบเทียบก่อนและหลังการใช้โปรแกรม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการหาค่าเฉลี่ย จำนวน ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังเข้าร่วมโปรแกรมกลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้นจากระดับปานกลาง เป็นระดับดี โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มขึ้นจาก 15.54 (S.D. = 3.41) เป็น 18.39 (S.D. = 18.39) ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) เมื่อจำแนกรายด้าน ได้แก่ ด้านการเข้าถึงข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการเข้าใจข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม ด้านการตรวจสอบข้อมูลอนามัยสิ่งแวดล้อม และด้านการตัดสินใจเพื่อป้องกันสุขภาพ กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเพิ่มขึ้นเป็นระดับดี ร้อยละ 45.71, 25.72, 31.43 และ 17.14 ตามลำดับ นอกจากนั้นกลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการป้องกัน PM2.5 เพิ่มขึ้นจากระดับไม่ดี เป็นระดับปานกลาง โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมเพิ่มขึ้น จาก 19.71 (S.D. = 3.12) เป็น 22.37 (S.D. = 4.24) ซึ่งแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p-value < 0.001) การใช้เทคโนโลยีสื่อสารด้านสุขภาพผ่านกระบวนการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ ในการสร้างพฤติกรรมสุขภาพ ทั้งนี้จะต้องมีการนำมาใช้ที่เหมาะสมเข้ากับบริบทของกลุ่มตัวอย่าง จึงจะเกิดประโยชน์สูงสุด | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | เทคโนโลยีสื่อสารสุขภาพ, ความรอบรู้ด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม, พฤติกรรมสุขภาพ, PM2.5, เยาวชน | th |
dc.subject | Health Communication Technology Environmental Health Literacy Health Behavior PM2.5 Youth | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | Application of Health Communication Technology for PM2.5 Prevention and Health Promotion Behavior in the Youth Group During the Smog Episode: A Case Study of Banphungoen School in Maepuem Subdistrict, Muang District, Phayao Province. | en |
dc.title | การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่อสารสุขภาพเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกัน PM2.5 ของกลุ่มเยาวชนในช่วงปัญหาหมอกควันรุนแรง: กรณีศึกษาโรงเรียนบ้านภูเงิน ตำบลแม่ปืม อำเภอเมือง จังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Medicine |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63054716.pdf | 3.3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.