Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/615
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSompradthana Saimoren
dc.contributorสมปรารถนา ทรายหมอth
dc.contributor.advisorSuthichai Sirinualen
dc.contributor.advisorสุทธิชัย ศิรินวลth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Medicineen
dc.date.accessioned2022-11-02T06:11:03Z-
dc.date.available2022-11-02T06:11:03Z-
dc.date.issued17/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/615-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis cross sectional descriptive study aimed to study self - management on glycemic control among ethnic non- insulin dependent diabetic patients and identify factors affecting self-management on glycemic control among ethnic non-insulin dependent diabetic patients, Mae Sai District, Chiang Rai Province. 192 participants were selected by using systematic random sampling. Data were collected by questionnaires between February 1, 2022–February 28, 2022, analyzed by multiple regression. The results revealed that most of them had self-management in eating and taking medicine at high level (76.0%, 75.0%), self - management in exercise and stress at moderate level (51.0%, 52.6%). There were 3 factors affecting self - management included self -efficacy in diabetes self - management (p < 0.001), knowledge of diabetes (p < 0.001) and perceived benefits in diabetes self-management (p = 0.001). The predictive equation was diabetes self - management score=45.488+0.703(self - efficacy in diabetes self - management) +0.707(knowledge of diabetes) +0.615 (perceived benefits in diabetes self - management). Therefore, service unit should apply the finding to plan for problem solving as increases self - efficacy in diabetes self - management, knowledge of diabetes and perceived benefits in diabetes self - management among ethnic non- insulin dependent diabetic patients.en
dc.description.abstractการศึกษาเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการจัดการตนเอง ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลินของกลุ่มชาติพันธุ์ และเพื่อศึกษาปัจจัย ที่มีผลต่อการจัดการตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด ของผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน ของกลุ่มชาติพันธุ์ อ.แม่สาย จ.เชียงราย กลุ่มตัวอย่าง 192 คน ใช้วิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างเป็นระบบ เก็บข้อมูล 1 กุมภาพันธ์ – 28 กุมภาพันธ์ 2565 ในพื้นที่ อ.แม่สาย จ.เชียงราย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ด้วยสถิติ multiple regression ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างมีการจัดการตนเอง ด้านการรับประทานอาหาร และด้านการรับประทานยา อยู่ในระดับสูง (76.0%, 75.0%) และการจัดการตนเองด้านการออกกำลังกาย และด้านการจัดการความเครียด อยู่ในระดับปานกลาง (51.0%, 52.6%) ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการตนเองมี 3 ปัจจัยคือ การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเองต่อโรคเบาหวาน (p < 0.001) ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน (p < 0.001) และการรับรู้ประโยชน์ของการจัดการตนเอง ต่อโรคเบาหวาน (p = 0.001) เขียนเป็นสมการในการทำนายดังนี้ คือ คะแนนการจัดการตนเอง ต่อโรคเบาหวาน = 45.488 + 0.703 (การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการจัดการตนเองต่อโรคเบาหวาน) + 0.707 (ความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน) + 0.615 (การรับรู้ประโยชน์ของการจัดการตนเองต่อโรคเบาหวาน) ได้33.9% (Adj.R2 = 0.339, p < 0.001) ผลการศึกษาที่ได้ควรใช้ในการวางแผนการส่งเสริมพฤติกรรม การจัดการตนเองในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของกลุ่มชาติพันธุ์ โดยเฉพาะการให้ความรู้เกี่ยว กับโรคเบาหวาน การเพิ่มการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และการรับรู้ประโยชน์ของการจัดการตนเองต่อโรคเบาหวาน เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานต่อไปth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectโรคเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน, กลุ่มชาติพันธุ์, การจัดการตนเองth
dc.subjectnon-insulin dependent diabetes mellitus ethnic groups self-managementen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleFactors Affecting Self-Management in controlling blood sugar levels among ethnic groups patients with non-insulin dependent diabetes mellitus , Mae Sai District, Chiang Rai Provinceen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการตนเอง ในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวานชนิดไม่พึ่งอินซูลิน  ของกลุ่มชาติพันธุ์ อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63054705.pdf5.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.