Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/592
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jutaporn Tageena | en |
dc.contributor | จุฑาภรณ์ ทาจีนะ | th |
dc.contributor.advisor | Prachuab Lamluk | en |
dc.contributor.advisor | ประจวบ แหลมหลัก | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Medicine | en |
dc.date.accessioned | 2022-09-16T07:16:43Z | - |
dc.date.available | 2022-09-16T07:16:43Z | - |
dc.date.issued | 17/10/2022 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/592 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | This research quantitative research with unmatched case-control study aimed to study 1) personal characteristics, perceived susceptibility, perceived severity, perceived barriers, perceived benefits and preventive behavior of Opisthorchis viverrini (O. viverrini) and 2) factors associated with O. viverrini infection. The subjects consisted of participants who were stool examined under Cholangiocarcinoma Screening and Car Program of DokKhamtai district health service network (2021). They were selected by using simple random sampling method and divided into two groups: 92 cases and 184 controls. The data were collected by questionnaire and analyzed by using descriptive statistics, Chi-square test and Logistic regression. The results revealed that most of cases and controls were female (57.6, 81.0%), aged 45-59 years (57.6, 60.3%), alcohol consumption (46.7, 45.7%) finished secondary school (73.8, 46.6%) farming (85.9, 84.2%), stool examination of family members were negative (43.5, 67.4%), no patient of liver cancer and Cholangiocarcinoma in family (93.5, 92.8%) raw fish consumption (50.0, 51.1%) perceived severity at middle level (59.8, 64.1%), perceived susceptibility at high level(51.1, 50.5%), perceived benefits at high level, (82.6, 77.7%) and perceived barriers at high level, (82.6, 58.2%). The results showed that males were 2.67 times more likely to be infected with O. viverrini than females (adjusted OR = 2.67, 95% CI: 1.48-5.15). Early secondary school reduced the likelihood of developing liver fluke by 67% (adjusted OR = 0.33, 95% CI: 0.17-0.64). Having a family member who had a O. viverrini test was 4.51 times more likely to be infected (adjusted OR = 4.51, 95% CI: 2.30). Finally, routine O. viverrini) prevention behaviors prevented 49% of liver fluke infection (adjusted OR = 0.51, 95% CI: 0.28-0.91). Therefore, there should be a campaign for people to change their behavior and promote participation of communities at all levels in finding ways to prevent liver fluke infection that are appropriate for the context of the area. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) รูปแบบไม่จับคู่ย้อนหลัง (Unmatched case-control study) วัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) คุณลักษณะส่วนบุคคล การรับรู้ความเสี่ยง การรับรู้ความรุนแรง การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ประโยชน์ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ และพฤติกรรม การป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการติดโรคพยาธิใบไม้ตับเป็น กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เข้าร่วมตรวจอุจจาระตามโครงการแก้ปัญหาโรคพยาธิใบไม้ในตับ และมะเร็งท่อน้ำดี เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอดอกคำใต้ ปี 2564 แบ่งออกเป็นกลุ่มศึกษา 92 คน กลุ่มควบคุม 184 คน คัดเลือกตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูล โดยสถิติเชิงพรรณนา Chi-square test และ Logistic regression ผลการวิจัยพบว่าคุณลักษณะทางประชากร ของกลุ่มศึกษา และกลุ่มควบคุมส่วนใหญ่ เพศหญิง (57.6, 81.0%) อายุ 45-59 ปี (57.6, 60.3%) การศึกษาระดับประถมศึกษา (73.8, 46.6%) อาชีพเกษตรกร (85.9, 84.2%) ประวัติคนในครอบครัว เคยตรวจอุจจาระแต่ไม่พบพยาธิใบไม้ตับ (43.5, 67.4%) ไม่มีญาติสายตรงเคยป่วยด้วยโรคมะเร็ง ท่อน้ำดี (93.5, 92.8%) การรับรู้ความรุนแรงปานกลาง (59.8, 64.1%) การรับรู้ความเสี่ยงสูง (51.1, 50.5%) การรับรู้ประโยชน์สูง (82.6, 77.7%) รับรู้อุปสรรคสูง (82.6, 58.2%) ปัจจัยเสี่ยงพบว่า เพศชายมีโอกาสเสี่ยง ต่อการติดโรคพยาธิใบไม้ตับ 2.67 เท่า (adjusted OR = 2.67, 95% CI: 1.48-5.15) เมื่อเทียบกับเพศหญิง การได้รับการศึกษาตั้งแต่ชั้นมัธยมศึกษาลดโอกาสการเกิดโรคพยาธิใบไม้ตับร้อยละ 67 (adjusted OR = 0.33, 95% CI: 0.17-0.64) การมีคนในครอบครัวเคยตรวจพบพยาธิใบไม้ตับทำให้มีโอกาสเสี่ยง ต่อการติดโรคพยาธิใบไม้ตับ 4.51 เท่า (adjusted OR = 4.51, 95% CI: 2.30-8.86) และการปฏิบัติพฤติกรรม การป้องกันโรคพยาธิใบไม้ตับเป็นประจำช่วยป้องกันการติดโรคพยาธิใบไม้ตับได้ถึงร้อยละ 49 (adjusted OR = 0.51, 95% CI: 0.28-0.91) ดังนั้นจึงควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งเสริม การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกระดับในการหาแนวทางการป้องกันการติดโรคพยาธิใบไม้ตับเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | โรคพยาธิใบไม้ตับ | th |
dc.subject | การรับรู้ | th |
dc.subject | พฤติกรรมการป้องกันโรค | th |
dc.subject | ปัจจัยเสี่ยง | th |
dc.subject | Opisthorchis viverrine | en |
dc.subject | perceive | en |
dc.subject | preventive behavior | en |
dc.subject | Risk factor | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | Factors associated with Opisthorchis viverrini infection in Dokkhamtai district, Phayao province | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการติดเชื้อพยาธิใบไม้ตับ ในพื้นที่อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Medicine |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63056572.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.