Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/587
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNuttharat Jankuangen
dc.contributorณัฐรัตน์ จันเครื่องth
dc.contributor.advisorNamngern Chantaramaneeen
dc.contributor.advisorน้ำเงิน จันทรมณีth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Medicineen
dc.date.accessioned2022-09-16T07:16:42Z-
dc.date.available2022-09-16T07:16:42Z-
dc.date.issued17/10/2022
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/587-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis was a survey using a cross-sectional approach. The purpose was to use a questionnaire to study the factors predicting  self-management behavior of the elderly under the epidemic of coronavirus disease -2019 among 444 elderly people in Wiang Chai District, Chiang Rai Province. The data was analyzed using descriptive statistics, chi-square test, fisher’s exact test, pearson’s product moment correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis was used to look for correlation. The results reveal that the perception of the severity of the COVID-19 infectious disease self-efficacy social support and self-management behaviors of the elderly were all a high level and the most powerful factors predicting self-management behavior of the elderly under the epidemic of coronavirus disease -2019 in the community was self-efficacy (β = 0.303), social support (β = 0.253) and perception of violence (β = 0.115) respectively. The three predictors were able to predict self-management of the elderly under the epidemic of coronavirus disease -2019 in the community 35.6 percent were statistically related.en
dc.description.abstractการวิจัยแบบภาคตัดขวางครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุภายใต้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้สูงอายุ อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย จำนวน 444 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคสแควร์ การทดสอบของฟิชเชอร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า การรับรู้ความรุนแรงของโรคติดเชื้อโควิด-19 การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุอยู่ในระดับสูง และปัจจัยที่มีอำนาจทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุภายใต้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนสูงที่สุดคือ การรับรู้สมรรถนะแห่งตน (β = 0.303) รองลงมาคือ แรงสนับสนุนทางสังคม (β = 0.253) และการรับรู้ความรุนแรงของโรค (β = 0.115) ตามลำดับ ตัวแปรทำนายทั้ง 3 ตัว ร่วมทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุภายใต้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชนได้ร้อยละ 35.6 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการรับรู้ความรุนแรงth
dc.subjectการรับรู้สมรรถนะแห่งตนth
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมth
dc.subjectโรคติดเชื้อโควิด-19th
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectperception of violenceen
dc.subjectself-efficacyen
dc.subjectsocial supporten
dc.subjectCOVID-19en
dc.subjectElderlyen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleFACTORS PREDICTING SELF-MANAGEMENT BEHAVIOR OF THE ELDERLY UNDER THE EPIDEMIC OF CORONAVIRUS DISEASE-2019 IN THE COMMUNITY AMPHOE WIANG  CHAI, CHIANG RAI PROVINCEen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุ ภายใต้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในชุมชน อำเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Medicine

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63054626.pdf5.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.