Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/556
Title: THE DEVELOPMENT OF BASIC JAPANESE LISTENNINGAND SPEACKING CURRICULUM FOR ELDERLY CARE 
การพัฒนาหลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ
Authors: Suphansa Saphachai
สุพรรษา สภาชัย
Wilaiporn Rittikoop
วิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์
University of Phayao. School of Education
Keywords: การพัฒนาหลักสูตร
ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน
การบริบาลผู้สูงอายุ
Curriculum development
Basic Japanese
Elderly Care
Issue Date:  16
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research had 3 objectives: 1) to develop the basic Japanese listening and speaking curriculum for elderly care. 2) to compare the basic Japanese listening and speaking skill for elderly care before and after using the curriculum. 3) to study the satisfaction of the students who use this curriculum. The population in this research were the students who studied and the ones who graduated from the certificate of practical nursing curriculum and the curriculum of health care in public and private schools the other groups were the people who interred in taking part in the development of basic Japanese listening and speaking skill for elderly care. The samples in this research were from the purposive selection. They were 13 students who wanted to take part in this research. The instruments were: 1) the interview from about needs and problems of the worker who care the elderly people in Japanese, 2) the basic Japanese listening and speaking curriculum for elderly care and handbook of using the curriculum, 3) The evaluation form of basic Japanese listening and speaking curriculum for elderly care and 4) the satisfaction questionaries for the students towards the curriculum. Data analyzed by mean and standard deviation. The findings of this research were: 1) the workers who cares the elderly people need to develop the listening and speaking Japanese in daily life, e.g., how to take a shower, how to communicate with elderly people and the duties of the elderly care, the vocabulary in the workplace. 2) the basic Japanese listening and speaking curriculum for elderly care is very suitable, 3) the scores of basic Japanese listening and speaking curriculum for elderly care after studying is higher than before studying. 4) the satisfaction of the students towards the studying in the basic Japanese listening and speaking for elderly care is in the highest level.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาหลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุก่อนและหลังการใช้หลักสูตร และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนตามหลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ ประชากร ได้แก่ ผู้ที่กำลังศึกษาและผู้ที่ผ่านการเรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ช่วยการพยาบาลและหลักสูตรการบริบาลในสถาบันการศึกษาภาครัฐและเอกชน และผู้ที่สนใจเข้าร่วมพัฒนาความสามารถในการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่าง ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจากผู้เรียนที่เป็นสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 13 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการของผู้ปฏิบัติงานด้านการบริบาลผู้สูงอายุในประเทศญี่ปุ่น หลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ และคู่มือการใช้หลักสูตร แบบประเมินทักษะการฟัง และทักษะการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุ และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนตามหลักสูตร วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริบาลผู้สูงอายุมีสภาพปัญหาและมีความต้องการพัฒนาทักษะการฟัง-พูดภาษาญี่ปุ่นเกี่ยวกับภาษาญี่ปุ่นในชีวิตประจำวัน การทำความสะอาดร่างกายและอวัยวะต่าง ๆ การสื่อสารกับผู้สูงอายุ หน้าที่ของผู้บริบาล และคำศัพท์สุภาพในที่ทำงาน 2) หลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 3) คะแนนความสามารถในการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน 4) ความความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนตามหลักสูตรการฟังและการพูดภาษาญี่ปุ่นพื้นฐานเพื่อการบริบาลผู้สูงอายุอยู่ในระดับมากที่สุด
Description: Master of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/556
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170680.pdf4.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.