Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/499
Title: Administration skill in 21st century to teachers' perspectives in affiliation of the ional education commission province Chiang Rai
ทักษะผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามทรรศนะของครูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
Authors: Wattana Apiwan
วัฒนา อภิวัน
Namfon Gunma
น้ำฝน กันมา
University of Phayao. School of Education
Keywords: ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษา ในศตวรรษที่ 21
The skills of school adminstrators in the 21 st century
Issue Date:  9
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research aimed to: 1. Study the skills of school administrators in the 21st century according to views of the techer under office of the vocational education commission, Chiang Rai and 2. Compare the skills of school administrators in the 21st century according to views of the techer under office of the vocational education commission, Chiang Rai. Classified by education level and work experience the sample is the sample in this research were 318 techers in the school under office of the vocational education commission, Chiang Rai. Questionnaire scale destimate 5 levels the research instrument was a questionnaire the statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deriation and analysis of variance (ANOVA) when sehffe’s pair comparison by LSD the findings: differences of reviews the skills of school administrators in the 21st century according to views of the techer under office of the vocational education commission, Chiang Rai of school. By overview classified by work experience found that work  experience have an reviews different at a statistical level of .05 when considering each dimension found that side 2 the skills communication, side 3 the skills interpersonal, side 5 the skills use oftechnology and digital, side 6 the skills learning management have different at a statistical level of .05, part side 1 the skills operational technique and side 4 the skills creative analytical thinking have an reviews not statistically significant different at a level of .05 suggestion the skills of school administrators in the 21st should be planned priority for easy operation of all parties should be planned in communication systematically should be friendly by work model family should be creative at various see the world far away different from the original should be bring information received from information applied use with the current situation should organize the classroom at mosphere and resting place to suit it is wort learning.
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อ1. เพื่อศึกษาทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามทรรศนะของครูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามทรรศนะของครูในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงรายโดยจำแนกตาม  ระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน กลุ่มตัวอย่างคือกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงรายจำนวน 318 คน แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ความแปรปรวนทางเดียว เมื่อพบความแตกต่างจึงทำการทดสอบเป็นรายคู่ โดยวิธีการ(LSD) ผลการศึกษาพบว่าความแตกต่างของความคิดเห็นทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ตามทรรศนะของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดเชียงรายของสถานศึกษา โดยภาพรวม จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน พบว่า ประสบการณ์ทำงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าด้านที่2 ทักษะการสื่อสาร, ด้านที่ 3 ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์,ด้านที่5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีและดิจิทัล, ด้านที่6 ทักษะด้านการจัดการเรียนรู้ มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนด้านที่1 ทักษะด้านเทคนิคการปฏิบัติงานและด้านที่4 ทักษะการคิดวิเคราะห์เชิงสร้างสรรค์ มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ข้อเสนอแนะทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21ควรมีการวางแผนงานลำดับความสำคัญเพื่อง่ายต่อการปฏิบัติงานของทุกฝ่าย ควรมีการวางแผนในการสื่อสารอย่าสารอย่างเป็นระบบ ควรมีความเป็นกันเอง โดยทำงานแบบครอบครัวควรมีความคิดสร้างสรรค์ที่หลากหลาย มองโลกกว้างไกล แตกต่างไปจากเดิม ควรนำข้อมูลที่ได้รับจากสารสนเทศนำไปประยุกต์ใช้งานกับสถานการในปัจจุบัน  ควรจัดสภาพบรรยากาศห้องเรียนและสถานที่พักผ่อนให้เหมาะสมเป็นที่น่าเรียนรู้
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/499
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62170286.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.