Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/493
Title: | A STUDY OF ROLES OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN PROMOTING DESIRABLE ATTRIBUTES IN SCHOOLS IN MAE FAH LUANG DISTRICT UNDER THE OFFICEOF CHIANG RAI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA 3 การศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในสถานศึกษา อำเภอแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 |
Authors: | Theewara Jaiyen ธีร์วรา ใจเย็น Watchara Jatuporn วัชระ จตุพร University of Phayao. School of Education |
Keywords: | บทบาทของผู้บริหาร คุณลักษณะอันพึงประสงค์ Roles of school administrators Desirable attributes |
Issue Date: | 9 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | The objective of the research was to study the role of school administrators in promoting desirable characters in schools of Mae FaLuang district under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3. The population used in the research consisted of school administrators and teachers teaching in schools of Mae FaLuang district under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3 for the 2020 academic year accounting for 451 people. The sample group used was school administrators and teachers teaching in schools of Mae Fa Luang district under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3 accounting for 211 people. The instrument used for the research was 5 rating scale questionnaires.
The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean and standard deviation. The results of research were as follows: 1) The role of school administrators in promoting desirable characters in schools of Mae Fa Luang district under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3 in an overall picture was at a high level. When individual aspects were taken into consideration, findings revealed that regarding the role of school administrators, acting as a role model had an effect on promoting desirable characters at the most. This was followed by organizing activities of the school respectively. Moreover, instructing had an effect on promoting desirable characters at the least. 2) For suggestions regarding the guideline of developing roles of school administrators in promoting desirable characters in schools of Mae Fa Luang district under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 3, when individual aspects were taken into consideration by ranking from the most frequency to the least frequency, findings revealed that organizing activities of the school had the most frequency. This was followed by instructing respectively. Moreover, determining policies had the least frequency. การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในสถานศึกษา อำเภอแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ผู้สอนในสถานศึกษา อำเภอ แม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 451 คน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่ผู้สอนในสถานศึกษา อำเภอแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 จำนวน 211 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในสถานศึกษา อำเภอแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์มากที่สุด คือ ด้านการประพฤติเป็นแบบอย่าง รองลงมา คือ ด้านการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ต่ำสุด คือ ด้านการอบรมสั่งสอน 2) ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการส่งเสริมคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในสถานศึกษา อำเภอแม่ฟ้าหลวง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับความถี่จากมากที่สุดไปน้อยที่สุด พบว่า ด้านที่มีความถี่ มากที่สุด คือ ด้านการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา รองลงมา คือ ด้านการอบรมสั่งสอน ตามลำดับ ส่วนด้านที่มีความถี่น้อยที่สุด คือ ด้านการกำหนดนโยบาย |
Description: | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/493 |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62170174.pdf | 3.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.