Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/442
Title: THE STUDY OF CREATIVE LEADERSHIP OF SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA, PHAYAO
การศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา
Authors: Theerachat Pongnaruemid
ธีรชาติ พงศ์นฤมิตร
Sopa Umnuayrat
โสภา อำนวยรัตน์
University of Phayao. School of Education
Keywords: ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์
ผู้บริหารสถานศึกษา
Creative Leadership
School Administrators
Issue Date:  30
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purposes of this research were: 1.) to study the formative creative leadership of school administrators as perceived by the teachers under the Secondary Educational Service Area, Phayao and 2.) to compare the formative creative leadership of school administrators as perceived by the teachers under the Secondary Educational Service Area, Phayao based on work experience and size of the school. The samples used in this study were the teachers in educational institutions under the Secondary Educational Service Area, Phayao consisting of 286 people, by using the sample size tables of Krejcie and Morgan and stratified random sampling. Research tools for collecting data were sets of rating scale questionnaires. The statistics used to analyze the data were frequency, mean, standard deviation, F-test, One - Way Anova and Scheffe’s pair comparison. The results of the research showed that 1) The result of teachers’ opinions towards creative leadership of school administrators under the Secondary Educational Service Area, Phayao in both overall and each aspect were at a high level. 2) The comparison of creative leadership of school administrators as perceived by the teachers under the Secondary Educational Service Area, Phayao, when classified by their work experience, showed no statistically significant difference. 3) The comparison of creative leadership of school administrators as perceived by the teachers under the Secondary Educational Service Area, Phayao, when classified by school size, as whole and in each aspect was statistically different at .05 level.
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา จำแนกตามประสบการณ์ทำงาน และขนาดของสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา จำนวน 286 คน โดยใช้ตารางเปรียบเทียบกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่และมอร์แกน และสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเอฟ (F-test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One–Way ANOVA) และตรวจสอบความแตกต่างเป็นรายคู่โดยวิธีตรวจสอบ ความแตกต่างของเชฟเฟ่ (Scheffe’) ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา โดยรวมและรายด้านอยู่ใน ระดับมาก 2) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา จำแนกตามประสบการณ์ทำงานโดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน และ 3) ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพะเยา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/442
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63204263.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.