Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/394
Title: A STUDY OF THE STATE OF THE IMPLEMENTATION OF THE EARLY CHILDHOODEDUCATION CURRICULUM INTO THE PRACTICE OF EDUCATIONALINSTITUTIONS CHIANG MAI PRIMARY EDUCATIONALSERVICE AREA DISTRICT OFFICE 3
การศึกษาสภาพการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
Authors: Kittiya Nuchkasem
กฤติยา นุชเกษม
Watchara Jatuporn
วัชระ จตุพร
University of Phayao. School of Education
Keywords: หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3
Early education curriculum
Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3
Issue Date:  17
Publisher: University of Phayao
Abstract: The purpose of this study is to study 1) educational curriculum implemented in schools. The purpose of this study is to compare the administration of District 3 and 2) under the jurisdiction of the Chiang Mai primary school education service area office. The purpose of this study is to study the current situation of curriculum implementation in primary education. The purpose of this study is to study the implementation of District 3 and comparative education curriculum under the jurisdiction of Chiang Mai primary school education service area. In the office of Chiang Mai primary school education service area, according to gender, educational background, and work experience Manager of open education institutions for preschool children in the office of primary education service area in Chiang Mai 3, 345. Samples from Casey and Morgan's off the shelf stores. The research tool is questionnaire survey, and the data collected through questionnaire survey. Frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, Pearson product moment correlation coefficient and multiple stepwise regression analysis of statistical data used for data analysis. T-test, F-test, and one-way analysis of variance, namely analysis of variance, analysis of variance and analysis of variance. "Scheffe" method Research results: 1) The overall educational condition of implementing the early childhood education curriculum for educational institutions under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3 was at a high level. The experience management plan, followed by development assessment. The aspect of making the curriculum of early childhood education schools, respectively, and the side with the lowest average. in the management of media environment and learning resources 2) Comparison of opinions towards the implementation of early childhood education programs into practice of educational institutions Under the Chiang Mai Primary Educational Service Area Office 3, classified by sex, it was found that the teachers had no difference in their opinions on the implementation of the early childhood education curriculum into the school's practice. but classified by educational qualifications and classified by work experience, it was found that teachers had opinions on the implementation of early childhood education curriculum into school practice. differed statistically at the .05 level.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฎิบัติ ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 และ 2) เพื่อเปรียบเทียบ การนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฎิบัติ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 และเพื่อเปรียบเทียบการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำแนกตามเพศ วุฒิทางการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัยของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำนวน 435 คน โดยได้กลุ่มตัวอย่างจากร้านเปิดตารางสำเร็จรูปของเครซี่และมอร์แกน และเเบ่งกลุ่มตัวอย่างอย่างง่ายตามสัดส่วนของขนาดประชากรในแต่ละสถานศึกษาจนได้ครบ ตามจำนวน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตารส่วน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์หาค่า (t-test), (F-test) และวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ เปรียบเทียบโดยวิธีของเชฟเฟ่ (Scheffe’s method) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการศึกษาการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 โดยรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ รองลงมา ด้านการประเมินพัฒนาการ ด้านการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ตามลำดับ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ด้านการจัดสภาพแวดล้อมสื่อและแหล่งเรียนรู้ 2) การเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่ การปฏิบัติของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำแนกตามเพศ พบว่า ครูมีความคิดเห็นต่อการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษาไม่มีความแตกต่างกัน แต่จำแนกตามวุฒิทางการศึกษาและ จำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน พบว่า ครูมีความคิดเห็นต่อการนำหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสู่การปฏิบัติของสถานศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Description: Master of Education (M.Ed. (Educational Administration))
การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/394
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63170142.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.