Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/351
Title: On-farm trials of promising maize hybrids suited to the upper northprovinces: Chiang Rai, Phayao, Phrea and Lampang 
การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมดีเด่นในไร่เกษตรกรที่เหมาะสมกับพื้นที่จังหวัดภาคเหนือตอนบน เชียงราย พะเยา แพร่ และลำปาง 
Authors: Thanaphon Chuaiphimai
ธนพล ช่วยพิมาย
Bunyarit Sinkangarm
บุญฤทธิ์ สินค้างาม
University of Phayao. School of Agriculture and Natural Resources
Keywords: ข้าวโพดเลี้ยงเลี้ยงสัตว์ลูกผสม การทดสอบพันธุ์ในไร่เกษตรกร ภาคเหนือตอนบน
Field corn hybrid On-farm trial Upper Northern
Issue Date:  30
Publisher: University of Phayao
Abstract: The University of Phayao Maize Improvement program, the elite hybrids of maize launched to on-farming yield trial phase cooperated with many preciously comparative varieties.  In the northern provinces, there are four provinces, viz, Chiang Rai, Phayao, Phare and Lampang, where conducted growing two seasons (dry and rainy) between 2020 – 2021. This study aimed to select the elite hybrids which good contents yield and agronomic characters, especially where suit adaptive in the northern parts. The evaluation in dry season, the 16 locations were 4 per province that the 5 highest hybrids yield of UPFC showed UPFC227, UPFC269, UPFC242, UPFC205 and UPFC319 (averaged 1,671, 1,641, 1,555, 1,545 and 1,232 kg/rai, respectively). While, the check varieties were GT709, GT822, CP508, PAC139 and P4546 equal to 1,496, 1,471, 1,411, 1,337 and 1,330 kg/rai. Moreover, the percentage of shelling UPCF was averaged 78%, but the comparative variety was 79%. The evaluation in rainy season, UPFC205, UPFC269, UPFC155, UPFC242 and UPFC319 gave the highest yield, viz, averaging 1,541, 1,514, 1,506, 1,483 and 1,439 kg/rai, respectively. Likewise, PAC339, CP639, DK9979C, PAC789 and SW5720, performed in 1,590, 1,589, 1,554, 1,532 and 1,347 kg/rai. Shelling percentage, UFFC varieties are averaged 77%, as compared with the average from comparative varieties equal to 79%. The most importantly, there UPFC elite hybrids will select for one to two varieties for the demonstrating and then, those are launching to plant varieties protective registration.
การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ลูกผสมดีเด่นระดับแปลงเกษตรกร จากโครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด มหาวิทยาลัยพะเยา ร่วมกับพันธุ์เปรียบเทียบในพื้นที่จังหวัด เชียงราย พะเยา แพร่ และ ลำปาง โดยทำการทดสอบ ในฤดูแล้ง และ ในฤดูฝน ระยะเวลา พ.ศ.2563 ถึง พ.ศ.2564 เพื่อทดสอบพันธุ์ที่ให้ผลผลิต และมีลักษณะทางการเกษตรที่ดีเหมาะสมกับจังหวัดภาคเหนือตอนบน พบว่า การทดสอบในฤดูแล้ง ปลูกจังหวัดละ 4 locations รวม 16 locations พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงที่สุด 5 อันดับแรก คือ UPFC227, UPFC269, UPFC242, UPFC205 และ UPFC319 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,671, 1,641, 1,555, 1,545 และ 1,232 กิโลกรัม ต่อไร่ ตามลำดับ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบ ได้แก่ GT709, GT822, CP508, PAC139 และ P4546 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,496, 1,471, 1,411, 1,337 และ 1,330 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ในส่วนของเปอร์เซ็นต์การกะเทาะ พันธุ์ UPFC มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 78 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบมีค่าเฉลี่ย 79 เปอร์เซ็นต์ ในส่วนของการทดสอบในฤดูฝน ปลูกจังหวัดละ 4 locations รวม 16 locations พบว่า พันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงที่สุด 5 อันดับแรก คือ UPFC205, UPFC269, UPFC155, UPFC242 และ UPFC319 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,541, 1,514, 1,506, 1,483 และ 1,439 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบ ได้แก่ PAC339, CP639, DK9979C, PAC789 และ SW5720 มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 1,590, 1,589, 1,554, 1,532 และ 1,347 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ ในส่วนของเปอร์เซ็นต์การกะเทาะ พันธุ์ UPFC มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 77 เปอร์เซ็นต์ ขณะที่พันธุ์เปรียบเทียบมีค่าเฉลี่ย 79 เปอร์เซ็นต์ จากผลการทดลองจะทำการคัดเลือกพันธุ์ที่มีศักยภาพผลผลิตและปรับตัวได้ดีในพื้นที่ภาคเหนือตอนบนให้เหลือ 1-2 พันธุ์ เพื่อทำการปลูกแปลงสาธิต และปลูกทดสอบเพื่อขอรับการคุ้มครองพันธุ์พืชต่อไป
Description: Master of Science (M.Sc. (Agricultural Science))
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม. (วิทยาศาสตร์การเกษตร))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/351
Appears in Collections:School of Agriculture and Natural Resources

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62011077.pdf5.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.