Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/336
Title: The Development of Cultural Tourism  Guidelines in Uthaithani Province.
การพัฒนาแนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี
Authors: Nopparat Songsaichonchai
นพรัตน์ ทรงสายชลชัย
Pakamas Chairatana
ผกามาศ ชัยรัตน์
University of Phayao. College of Management
Keywords: การพัฒนา
แนวทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
พื้นที่จังหวัดอุทัยธานี
Development
Cultural Tourism Guidelines
Uthai Thani Province
Issue Date:  16
Publisher: University of Phayao
Abstract: This research has the objective 1) To study the potential of cultural tourism sites in Uthai Thani Province. 2) To study the needs of the community and the needs of tourists in the management of cultural tourism sites in Uthai Thani Province. And 3) To create a pattern and cultural tourism activities sites in Uthai Thani Province. Which is a mixed research. The quantitative research sample was 400 Thai tourists who traveled to cultural tourism sites in Uthai Thani Province. In the hypothesis testing, inferential statistics were used, namely statistical values T-test, F-test or One Way ANOVA. Qualitative research, including those involved in cultural tourism. Uthai Thani Province, 3 sectors, including government agencies private agencies and community agencies, number 17 people. Use an in-depth interview Semi-structured analyze content. The research results were found that 1) The needs of tourists in cultural tourism management sites in Uthai Thani Province. It was found that the tourists had a need for cultural tourism management sites in Uthai Thani Province. There was no difference in personal factors regarding gender education level and career. As for the needs of tourists who differ in cultural tourism management sites in Uthai Thani Province. They differ in age, domicile, average monthly income and status. 2) Forms and activities of cultural tourism sites in Uthai Thani Province. There were no differences in personal factors, gender, occupation, domicile, average monthly income and status. As for the forms and activities of cultural tourism sites in Uthai Thani Province. They differ in age and education level. 3) A study of the potential of cultural tourism sites in Uthai Thani Province. It was found that Uthai Thani Province has a very distinctive and diverse cultural tourism resource. Interesting cultural attractions such as Wat Chantaram or Wat Tha Sung, Ubosatharam Temple, Wat Sangkas Ratanakiri, Sakae Krang River houseboat, Sakae Krang morning market, Trok Rong ya Walking Street, Wat Tham Khao Wong, Sao Hai Market, Ban Sa Nam Community, Karen village Kaen Ma krut. There are ethnic Karen Pou, Lao Wiang, Lao Khrang in Ban Rai district and Huai Khot district Of Uthai Thani Province. Which is a variety of tourist attractions that can attract tourists interested in tourism Uthai Thani Province. 4) Needs of the community for cultural tourism management sites in Uthai Thani Province. In every sector want to be involved with the community in promoting support communities to help conserve revitalize cultural tourism sites. Develop knowledge in the community And there is a development in the local identity to be continued.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี 2) เพื่อศึกษาความต้องการของชุมชนและความต้องการของนักท่องเที่ยวในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี และ 3) เพื่อสร้างรูปแบบและกิจกรรมทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี โดยเป็นการวิจัยแบบผสม กลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทย จำนวน 400 คน ที่เดินทางมาท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี ในการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ ค่าสถิติ T-test, F-test or One Way ANOVA การวิจัยเชิงคุณภาพ ได้แก่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม จังหวัดอุทัยธานี 3 ภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ หน่วยงานภาคเอกชน และหน่วยงานภาคชุมชน จำนวน 17 คน ใช้การสัมภาษณ์แบบเชิงลึก แบบกึ่งมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1) ความต้องการของนักท่องเที่ยวในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี พบว่า นักท่องเที่ยวมีความต้องการในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี  ไม่แตกต่างกันในปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ระดับการศึกษา และอาชีพ ส่วนความต้องการของนักท่องเที่ยวที่แตกต่างกันในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี แตกต่างกันในด้าน อายุ ภูมิลำเนา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และสถานภาพ 2) รูปแบบและกิจกรรมทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี ไม่แตกต่างกันในปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ อาชีพ ภูมิลำเนา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน และสถานภาพ ส่วนรูปแบบและกิจกรรมทางการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี แตกต่างกันในด้าน อายุ และระดับการศึกษา  3) การศึกษาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี พบว่า จังหวัดอุทัยธานีมีทรัพยากรการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่หลากหลายและโดดเด่นเป็นอย่างมาก มีแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่น่าสนใจ เช่น วัดจันทารามหรือวัดท่าซุง วัดอุโบสถาราม วัดสังกัสรัตนคีรี เรือนแพลุ่มแม่น้ำสะแกกรัง ตลาดเช้าสะแกกรัง ถนนคนเดินตรอกโรงยา วัดถ้ำเขาวง ตลาดซาวไฮ่ ชุมชนบ้านสะนำ หมู่บ้านกระเหรี่ยงแก่นมะกรูด มีชาติพันธุ์กระเหรี่ยงโปว์ ลาวเวียง ลาวครั่ง ทางอำเภอบ้านไร่ และอำเภอห้วยคต ของจังหวัดอุทัยธานี ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่หลากหลายสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวให้สนใจในการท่องเที่ยวจังหวัดอุทัยธานี 4) ความต้องการของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี พบว่า ในทุกภาคส่วนต้องการมีส่วนร่วมกับชุมชนในการส่งเสริม สนับสนุนชุมชนให้ช่วยกันอนุรักษ์ ฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม พัฒนาในด้านองค์ความรู้ให้กับชุมชน และมีการพัฒนาในด้านความเป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นให้คงอยู่ต่อไป
Description: Doctor of Philosophy (Ph.D. (Tourism and Hotel Management))
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด. (การจัดการการท่องเที่ยวและโรงแรม))
URI: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/336
Appears in Collections:School of Management and Information Sciences

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60160058.pdf14.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.