Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/322
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Akkaratorn Pannakharm | en |
dc.contributor | อัคราทร พรรณขาม | th |
dc.contributor.advisor | Veera Lertsomporn | en |
dc.contributor.advisor | วีระ เลิศสมพร | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Political and Social Science | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-02T08:21:11Z | - |
dc.date.available | 2021-09-02T08:21:11Z | - |
dc.date.issued | 9/7/2021 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/322 | - |
dc.description | Master of Public Administration (M.P.A. (Public Policy)) | en |
dc.description | รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (รป.ม. (นโยบายสาธารณะ)) | th |
dc.description.abstract | This research on the roles of sub-district headman towards local development after 1997: a case study in Phayao province was conducted to (1) study and examine the roles of sub-district headman towards local development policy formulation after 1997, and (2) study and examine the roles of sub-district headman towards local development policy implementation after 1997. A qualitative methodology was used and results obtained through two collection methods including documental study and semi-structured in-depth interviews with 22 key informants including commanders of sub-district headman, chairmans of the sub-district headman and village association, the awarded sub-district headmen with outstanding performance and sub-district headmen. According to the research results, though, after 1997, the power was decentralized to local administrative organizations dismissing a sub-district headman from playing the legal role in local development, the main law related to sub-district headmen has not changed in a way that negatively affects their roles. The headman continued to play a role in policy formation, but their position was changed from the decision maker to coordinator. However, the general public expectations on policy making are still set, mainly, at the headman as they are perceived as a natural leader of the district and the policy-making process goes according to the process model. For the role in policy implementation for local development of the sub-district headman after 1997, as the administrative department has personnel operational duties in every village, various government agencies have given importance to the headman as a local policy driver while the public did not expect their headman to implement all policies as in the past. Such expectations instead are spreaded to various local agencies in accordance with their mission while the headman is expected to be a policy leader for other policies that there are no agencies in the area responsible for. The procedure for policy implementation in local area is in line with Prof.Voradej Chantarasorn’s concept of public policy implementation at the micro level. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาบทบาทการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ.2540 : กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา มีวัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาบทบาทการกำหนดนโยบายในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 และ 2.เพื่อศึกษาบทบาทการนำนโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 การวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยส่วนนี้ ประกอบด้วย แนวทางการศึกษาจากเอกสาร และการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้การสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ซึ่งได้สัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 22 คน ประกอบด้วยผู้บังคับบัญชาของกำนัน ประธานชมรมกำนันผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ ของแต่ละอำเภอ กำนันผู้ที่มีผลการปฏิบัติหน้าที่ดีเด่น และผู้ที่ดำรงตำแหน่งกำนันผลการวิจัยพบว่า บทบาทการกำหนดนโยบายในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 ถึงแม้จะมีการกระจายอำนาจให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและส่งผลให้กำนันไม่ได้เข้าไปมีบทบาทตามกฎหมายในการพัฒนาท้องถิ่น แต่กฎหมายหลักของกำนันไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงในทางที่เป็นลบต่อบทบาทของกำนัน กำนันยังคงมีบทบาทในการกำหนดนโยบายแต่เปลี่ยนสถานะจากผู้มีอำนาจตัดสินใจไปเป็นผู้ประสานงาน ขณะที่ความคาดหวังของประชาชนในการกำหนดนโยบายของกำนันพบว่าประชาชนยังคงตั้งความคาดหวังไว้ที่กำนันเป็นอันดับแรก เนื่องจากกำนันยังคงความเป็นผู้นำทางธรรมชาติในตำบล และการกำหนดนโยบายเป็นไปตามตัวแบบกระบวนการ ขณะที่ บทบาทการนำนโยบายไปปฏิบัติในการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 พบว่า การที่ฝ่ายปกครองมีบุคลากรปฏิบัติหน้าที่อยู่ในทุกหมู่บ้านทำให้ส่วนราชการต่าง ๆ ได้ให้ความสำคัญต่อกำนันในฐานะผู้ขับเคลื่อนนโยบายในพื้นที่ ขณะที่ประชาชนไม่ได้คาดหวังให้กำนันนำนโยบายทุกเรื่องไปปฏิบัติอย่างเช่นอดีต ความคาดหวังดังกล่าวจะกระจายไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ที่ขับเคลื่อนในพื้นที่ตามภารกิจที่ตนทำ แต่กำนันยังคงถูกคาดหวังว่าจะเป็นผู้นำนโยบายที่ไม่มีหน่วยงานใดปฏิบัตินำไปปฏิบัติในพื้นที่ ส่วนขั้นตอนการนำนโยบายไปปฏิบัติในพื้นที่เป็นไปตามแนวคิดการนำนโยบายสาธารณะไปปฏิบัติในระดับจุลภาคของศาสตราจารย์วรเดช จันทรศร | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | การพัฒนาท้องที่ | th |
dc.subject | กำนัน | th |
dc.subject | นโยบายสาธารณะ | th |
dc.subject | Local development | en |
dc.subject | Subdistrict headman | en |
dc.subject | Public policy | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE LOCAL DEVELOPMENT ROLES OF SUBDISTRICT HEADMAN SINCE 1997:CASE STUDY OF PHAYAO PROVINCE. | en |
dc.title | บทบาทการพัฒนาท้องที่ของกำนันหลังปี พ.ศ. 2540 :กรณีศึกษาจังหวัดพะเยา | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Political and Social Science |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62213497.pdf | 1.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.