Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/278
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKhemanid Khamkhamoonen
dc.contributorเขมนิจ คำคะมูลth
dc.contributor.advisorSopa Umnuayraten
dc.contributor.advisorโสภา อำนวยรัตน์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:49Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:49Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/278-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe Study on the role of executive, from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to the integration of administration schools in Lampang City. The purposes of this study were 1). To study teacher's opinions on the role of executives from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to integrating the administration. 2) To compare teacher's opinions on the role of executives from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to integrating the administration by classification according to the size of the school and operational experience. The population of this study were teachers in Lampang Municipal schools year 2019 about 6 schools, a total of 194 people. The selected samples of this research were 132 people by using Stratified Random Sampling. The tools used in this research were a questionnaire about teacher's opinions on the role of executives from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to integrating of the administration schools in Lampang City, characterized by a five-level rating scale. The results of the study were as follows that: 1). The role of executive, from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to the integration of administration schools in Lampang City, The overall role of executive was a high level = 4.36 when considering each side, found that : The highest average was academic administration =4.39 The second in the field of personal administration = 4.37 and budget administration = 4.36 The least average was general administration = 4.32 2. The result of comparison teacher's opinions on the role of executives from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to integrating the administration by classification according to the size of the school found that; the difference is statistically significant at the .05 level. The medium school with an average of 4.42, which was more than a small school with an average of 4.12. It found that academic and general administrations were a statistically significant difference at .05. 3. The result of comparison teacher's opinions on the role of executives from inducing the royal initiate the philosophy of sufficiency economy to integrating the administration by classification according to working experience less than 10 years, 10 to 20 years, and 20 years up which there was no a statistically significant difference.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปาง มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครู ต่อบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการในการบริหาร และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครู ต่อบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการ ในการบริหาร จำแนกตามขนาดของโรงเรียน และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ได้แก่  ครูในโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปาง ปีการศึกษา 2562  จำนวน 6 โรงเรียน รวมทั้งสิ้นจำนวน 194 คน กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 132 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบบชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปางลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale)  5 ระดับ ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ 1. บทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ บูรณาการในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปาง สังกัดเทศบาลนครลำปาง ในภาพรวมบทบาทของผู้บริหารอยู่ในระดับมาก = 4.36 เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือด้านการบริหารงานวิชาการ = 4.39 รองลงมา คือ ด้านการบริหารงานบุคคล = 4.37 และด้านการบริหารงานงบประมาณ = 4.36 ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านการบริหารงานทั่วไป = 4.32 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครู ต่อบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการ ในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปาง จำแนกตามขนาดของโรงเรียนพบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยโรงเรียนขนาดกลางมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.42 ซึ่งมากกว่า โรงเรียนขนาดเล็กมีค่าเฉลี่ย4.12 และพบว่าการบริหารสถานศึกษา ด้านการบริหารงานวิชาการและด้านการบริหารงานทั่วไป มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของครู ต่อบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการ ในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปาง จำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน น้อยกว่า 10 ปี 10 ถึง 20 ปี และ 20ปี ขึ้นไป มีความแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectบทบาทของผู้บริหารth
dc.subjectการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectการบูรณาการth
dc.subjectthe roles of administratorsen
dc.subjectsufficiency economy philosophyen
dc.subjectthe integrationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTHE STUDY ON THE ROLE OF EXECUTIVE, FROM INDUCING THE ROYAL INITIATE THE PHILOSOPHY OF SUFFICIENCY ECONOMY TO INTEGRATION OF ADMINISTRATION SCHOOLS IN LAMPANG CITYen
dc.titleการศึกษาบทบาทของผู้บริหารในการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบูรณาการในการบริหารโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครลำปางth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61500653.pdf1.44 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.