Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/269
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Suriya Wongta | en |
dc.contributor | สุริยา วงษ์ตา | th |
dc.contributor.advisor | Natthawut Sabphaso | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐวุฒิ สัพโส | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-22T06:41:48Z | - |
dc.date.available | 2021-01-22T06:41:48Z | - |
dc.date.issued | 29/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/269 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The purpose of this research were 1) to study the investigate the school administrators’ academic leadership schools of Chiangrai Primary Educational Services Area Office 3 2) to study the effectiveness of academic administration organized by schools of Chiangrai Primary Educational Services Area Office 3 3) to study the relationship between the Academic Leadership and Effectiveness Administration by schools of Chiangrai Primary Educational services Area Office 3. For data gathering, 169 respondents were randomly sampled groups by Krejcie & Morgan’s table. These included 300 school administrators and teachers working for the schools of Chiangrai Primary Educational Services Area Office 3. A five rating scale–based questionnaire with its reliability of 0.96, and interviews on the educational specialist’s ongoing strategies for devilment of academic leadership were both carried out for data analysis. The data were systematically analyzed through percentage, mean, and standard deviation. The findings indicated as follows 1. the level of Leadership of School Administrator and 2. the Academic Administrator Competencies of School are high level for both. And 3. the relationship between Leadership of School Administrator with Academic Administrator Competencies of of Chiangrai Primary Educational services Area Office 3 found that the positive correlation were statistically significant at the .01 level as high levels. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 2) ศึกษาประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการและประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษากับครูวิชาการของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 รวมจำนวน 300 คน เลือกกลุ่มตัวอย่าง 169 คน โดยใช้วิธีสุ่มแบบง่ายตามตารางของเครซี่และมอร์แกน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ มีความเชื่อมั่น .96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 พบว่า การวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนางานวิชาการ การนิเทศในเชิงพัฒนา การส่งเสริมการวิจัยในชั้นเรียน การส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ การจัดให้มีสิ่งส่งเสริมสภาพการเรียนรู้และการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนางานวิชาการมีคุณภาพ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2. ประสิทธิผลของการบริหารวิชาการโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 ในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติที่ระดับ .01 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ความสัมพันธ์ | th |
dc.subject | ภาวะผู้นำทางวิชาการ | th |
dc.subject | ประสิทธิผลในการบริหารงานวิชาการ | th |
dc.subject | The Relationship | en |
dc.subject | Academic Leadership | en |
dc.subject | Effectiveness Administration | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | THE RELATIONSHIP BETWEEN WITH ACADEMIC LEADERSHIP AND EFFECTIVENESS ADMINISTRATION BY SCHOOLS OF PRIMARY EDUCATIONAL SERVICES AREA OFFICE 3 | en |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธิผลในการ บริหารงานวิชาการ โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61170409.pdf | 1.4 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.