Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/251
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNaphat Panyawongen
dc.contributorณภัทร ปัญญาวงค์th
dc.contributor.advisorNamfon Gunmaen
dc.contributor.advisorน้ำฝน กันมาth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:45Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:45Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/251-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe objectives of the study were to investigate and compare the opinions of the staff members on the transformational leadership of the administrators in higher education institutions at Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai, classified by degree education, personnel types and work experience The samples used in the study were 127 staff members at Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Rai using the Taro Yamane’s sample specification (1973). The samples were stratified random sampling and were classified by department. After that, they were simple random sampling performed in proportion. The instrument used was a 5 level rating scale questionnaire mentioned the transformational leadership of administrators in higher education institutions at Rajamangala University of Technology Lanna, Chiang Rai. The questionnaire consisted of 40 items with the reliability was at 0.85. The statistics used were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. If the significant differences were found, the Scheffe’ method would be used in a pair test. The findings were as follows: 1. The transformational leadership of administrators in higher education institution as the staff members’ opinions at Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai was at the high level as a whole. When considering each aspect, it was found that all aspects were at the high level and the aspect with the highest average was being influential in ideology, followed by the motivation and the intellectual stimulation and the least was the consideration of individuality. 2. The finding on comparison of the staff members’ opinions toward the transformational leadership of the university administrators at Rajamangala University of Technology Lanna Chiang Rai, classified by degree education, personnel types and work experience were as follows: The staff members with the different educational background had the different opinions in overall on the statistical significance at the level of .05. The opinions of staff members worked as academic area and supporting area were not different. However, the opinions of staff members had different work experiences were different as a whole with the statistical significance at the level of .05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา และเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย จำแนกตามระดับการศึกษา ประเภทบุคลากร และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย โดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างของทาโร ยามาเน่ (Taro Yamane.1973) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 127 คน และสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling) จำแนกตามหน่วยงาน จากนั้นทำการสุ่มตัวอย่างอย่างง่ายตามสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 40 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.85 สถิติที่ใช้ในงานวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเมื่อพบความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ จึงเปรียบเทียบรายคู่ โดยวิธีของ Scheffe’ ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาตามความคิดเห็นของบุคลากร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ รองลงมาคือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา สำหรับด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล 2. ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของบุคลากรที่มีต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่าบุคลากรที่มีระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามประเภทบุคลากร พบว่าบุคลากรประเภทสายสอนและสายสนับสนุน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารไม่แตกต่างกัน และจำแนกตามประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน พบว่าบุคลากรที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาth
dc.subjectภาวะผู้นำผู้บริหารth
dc.subjectบุคลากรสถาบันอุดมศึกษาth
dc.subjectAdministrator in higher education institutions’ s transformational leadershipen
dc.subjectAdministrator’s Leadershipen
dc.subjectPersonnel of higher education institutionsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTRANSFORMATIONAL LEADERSHIP OF ADMINISTRATORS IN HIGHER EDUCATION INSTITUTION ACCORDING TO THE STAFF MEMBER’ S OPINIONS AT RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY LANNA CHIANG RAIen
dc.titleภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาตามความคิดเห็น ของบุคลากรมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170184.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.