Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJitrawan Rungrueankunen
dc.contributorจิตรวรรณ รุ่งเรืองกุลth
dc.contributor.advisorSanti Buranacharten
dc.contributor.advisorสันติ บูรณะชาติth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/247-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThis research aimed to study Curriculum Administration of the Child Development Center in Mae Sai District Chiang Rai and to compare Curriculum Administration of the Child Development Center in Mae Sai District Chiang Rai. The samples were 10 directors of the Division of Education, Religion and Culture, 10 academics and 50 teachers of the Child Development Center in Mae Sai District Chiang Rai Province. The sample pollution used Krejcie & Morgan got 90 instruments to collect information a questionnaire. Section valuation (Rating Scale) 5 star the statistics used to analyze data were percentage, mean, standard deviation, t-test, and Analysis of Variance: ANOVA. 1. The result of the study showed that the curriculum administration of the child development center in Mae Sai District Chiang Rai was at the high level as the whole aspect and the particular aspect. Whereas. 2. The results of the comparison of the academic curriculum administration of the child development center in Mae Sai District Chiang Rai divided by gender, education level, and work experience the result were not significantly different.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาสภาพการบริหารหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 2. เพื่อเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้อำนวยการกองการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม จำนวน 10 คน นักวิชาการศึกษา จำนวน 10 คน ครู จำนวน 50 คน และผู้ดูแลเด็ก จำนวน 48 คน ซึ่งกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางเครจซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 90 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ เแบบสอบถาม เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบแบบ (t-test) และการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance: ANOVA) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุด คือ ด้านการจัดทำหลักสูตรของสถานศึกษา ด้านการเตรียมความพร้อมของสถานศึกษา ด้านการนิเทศกำกับติดตามประเมินผลการบริหารการศึกษา ด้านการวางแผนดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา ด้านการดำเนินการบริหารหลักสูตรการนำหลักสูตร (การนำหลักสูตรไปใช้) ด้านการปรับปรุงพัฒนาหลักสูตร ตามลำดับ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการสรุปผลการดำเนินงาน 2. ผลการเปรียบเทียบการบริหารหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย จำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมไม่มีความแตกต่างกันth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการบริหารหลักสูตรth
dc.subjectศูนย์พัฒนาเด็กเล็กth
dc.subjectManagemrnt Curriculumen
dc.subjectThe Child Development Centeren
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleMANAGEMENT CRUICULUM OF CHILD DEVELOPMENT CENTERIN MAESAI DISTRICT, CHIANGRAIen
dc.titleการบริหารหลักสูตรของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170139.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.