Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKullarat Saimaneeen
dc.contributorกุลรัศมิ์ สายมะณีth
dc.contributor.advisorWatchara Jatupornen
dc.contributor.advisorวัชระ จตุพรth
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.available2021-01-22T06:41:44Z-
dc.date.issued29/6/2020
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/243-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purpose of this research were to study and compare teamwork development of school under the Nonthaburi primary education service area office 1 by gender, education level and experience, a sample used in this research was selected from school administrators and teachers, 329 cases from schools, under the Nonthaburi primary education service area office 1. The sample size was determined using the Krejcie and Morgan Table and was selected by means of the simple random sampling. The study instruments were questionnaires with 5 rating scale, 44 items. The study instrument was a questionnaire with the reliability value of 0.89. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, t-test, One-Way Anova, and the LSD method for paired comparison. The results revealed that level of teamwork development of schools Under the Nonthaburi Primary Educational Service Area 1, the overall is in a high level, the most teamwork development are consistency of following up and development, active cooperation and team discussion. The comparative results of teamwork development of schools Under the Nonthaburi Primary Educational Service Area 1 classified by gender and work experience were overall significance different, classified by education level was different with no statistical significance.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จำแนกตามตัวแปรเพศ ระดับการศึกษา และประสบการณ์ทำงาน ทำการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน สังกัดสำนักงานนเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ปี การศึกษา 2562 จำนวน 329 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลการศึกษาครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามชนิดมาตราส่วน ประมาณค่า 5 ระดับ (Rating Scale) จำนวน 44 ข้อ มีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.89 สถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างกลุ่มใช้การทดสอบค่าที (t-test) และความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยใช้วิธีการ LSD ผลการวิจัยพบว่า ระดับการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของสถานสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีการพัฒนาการทำงานเป็นทีมมากที่สุด ได้แก่ การติดตามและการส่งเสริมการพัฒนาการทำงานเป็นทีมอย่างต่อเนื่อง การสร้างความร่วมมืออย่างแข็งขัน และการปรึกษาหารือกัน ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาการทำงานเป็นทีมจำแนกตามเพศ ประสบการณ์ทำงาน และระดับการศึกษา พบว่า เพศ และประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectการพัฒนาการทำงานเป็นทีมth
dc.subjectTEAMWORKen
dc.subjectTEAMWORK DEVELOPMENTen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleTEAMWORK DEVELOPMENT OF SCHOOL UNDER THE NONTHABURI PRIMARYEDUCATION SERVICE AREA OFFICE 1en
dc.titleการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61170094.pdf2.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.