Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/234
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Sudaporn Tippala | en |
dc.contributor | สุดาพร ติ๊บปาละ | th |
dc.contributor.advisor | Sanit Srikoon | en |
dc.contributor.advisor | ศานิตย์ ศรีคุณ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2021-01-22T06:41:43Z | - |
dc.date.available | 2021-01-22T06:41:43Z | - |
dc.date.issued | 29/6/2020 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/234 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Curriculum and Instruction)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (หลักสูตรและการสอน)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of the independent aims to compare the average score of mathematics learning outcomes and the average score of analytical thinking between the experimental group and the control group. The population were 213 students who were in Grade 9 students of Wangnueawittaya School, Lampang. The samples were selected by cluster sampling. There were 67 students from two classes divided into 32 students being in the experimental group and 35 students being in the control group. The experimental instruments were the teaching models consisting of the teaching model using an open approach integrated with cognitive training and the conventional teaching model. The research instruments for collecting data were the mathematics achievement test, the attitude towards mathematics questionnaire, the mathematical process skills test and the analytical thinking test. The data were analyzed and presented in mean, standard deviation, coefficient of variation, maximum, minimum, skewness, kurtosis, the analysis of one-way MANOVA and the analysis of one-way ANOVA. The results of this study indicated that as follows: 1. The average scores of mathematics learning outcomes composing of mathematics achievement, attitude toward mathematics, and mathematical process skills of students taught by open approach integrated with cognitive training and conventional teaching model were significantly different at the statistical level of 0.05. 2. The average scores of analytical thinking of students taught by open approach integrated with cognitive training and conventional teaching model were significantly different at the statistical level of 0.05. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์และการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยเปรียบเทียบระหว่างรูปแบบการสอนแบบเปิดร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญา (กลุ่มทดลอง) และรูปแบบการสอนแบบปกติ (กลุ่มควบคุม) โดย 1) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยการคิดวิเคราะห์ระหว่างนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนวังเหนือวิทยา อำเภอวังเหนือ จังหวัดลำปาง ทำการสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 67 คน โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็นกลุ่มทดลอง จำนวน 32 คน และกลุ่มควบคุม จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ แบบวัดเจตคติต่อคณิตศาสตร์ แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย ค่าต่ำสุด ค่าสูงสุด ความเบ้ ความโด่ง การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณทางเดียว และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า 1. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญากับรูปแบบการสอนแบบปกติมีผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์หลังเรียน ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และเจตคติต่อคณิตศาสตร์ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2. นักเรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับการฝึกเชิงพุทธิปัญญากับรูปแบบการสอนแบบปกติมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | วิธีการแบบเปิด | th |
dc.subject | การฝึกเชิงพุทธิปัญญา | th |
dc.subject | ผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ | th |
dc.subject | การคิดวิเคราะห์ | th |
dc.subject | Open Approach | en |
dc.subject | Cognitive Training | en |
dc.subject | Mathematics Learning Outcomes | en |
dc.subject | Analytical Thinking | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | EFFECT OF OPEN APPROACH INTEGRATED WITH COGNITIVE TRAINING ON MATHEMATICS LEARNING OUTCOMES AND ANALYTICAL THINKING | en |
dc.title | ผลการใช้รูปแบบการสอนโดยใช้วิธีการแบบเปิดร่วมกับ การฝึกเชิงพุทธิปัญญา ที่ส่งผลต่อผลการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และการคิดวิเคราะห์ | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60207005.pdf | 1.64 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.