Please use this identifier to cite or link to this item: http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/124
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMrschutipapha Tankhiaoen
dc.contributorชุติปภา ตันเขียวth
dc.contributor.advisorRuksit Suttipongen
dc.contributor.advisorรักษิต สุทธิพงษ์th
dc.contributor.otherUniversity of Phayao. School of Educationen
dc.date.accessioned2019-11-25T03:43:49Z-
dc.date.available2019-11-25T03:43:49Z-
dc.date.issued24/11/2019
dc.identifier.urihttp://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/124-
dc.descriptionMaster of Education (M.Ed. (Educational Administration))en
dc.descriptionการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา))th
dc.description.abstractThe purposes of this research were 1) to survey  and study the level of  situation and guide to promoting teachers’ well-being in the workplace perceived by administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4  2) to compare the level of situation of  teachers’ well-being in the workplace perceived by administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4 as classified by sex age and experience and 3) to discover and collect data from the suggestions to create a guide to promoting teachers’ well-being in the workplace perceived by administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4. Samples were 191 administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4 derived by stratified random sampling technique. Instruments used to collect data were questionnaires constructed by the researcher. Data were analyzed by using  frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and One Way ANOVA. The results showed that: 1. The situation of teachers’ well-being in the workplace perceived by administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4  was at the high level. 2. The situation of  teachers’ well-being in the workplace perceived by administrators and teachers in school, Chiang Khong district, under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4 as classified by sex age and experience were different statistically significant. 3. There were  the suggestions from research finding composed of teacher' motivation should be promoted, a healthy and work-conducive workplace environment should be  provided, appropriate information technology should be provided etc.        en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสำรวจและศึกษาระดับสภาพความผาสุกในการทำงานของครูตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษา ในอำเภอเชียงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับสภาพความผาสุกในการทำงานของครูตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเชียงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 ที่จำแนกตามเพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงานของประชากรที่ใช้ในการวิจัย และ 3) เพื่อค้นหาและรวบรวมข้อมูลจากข้อเสนอแนะเพื่อเป็นแนวทางการเสริมสร้างความผาสุกในการทำงานของครู ตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเชียงของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูและผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเชียงของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 จำนวน 191 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่สร้างขึ้น และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t-test) และ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One Way ANOVA) ผลการศึกษาพบว่า 1. สภาพความผาสุกในการทำงานของครูตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษา ในอำเภอเชียงของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 อยู่ในระดับมาก 2. สภาพความผาสุกในการทำงานของครูตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษา ในอำเภอเชียงของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 เมื่อจำแนกตาม เพศ อายุ และประสบการณ์ในการทำงาน มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 3. ข้อเสนอแนะที่เกิดจากผลการศึกษาเพื่อเป็นแนวทางการเสริมสร้างความผาสุกในการทำงานของครู ตามทัศนะของครูและผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเชียงของ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 4 เช่น การส่งเสริมแรงจูงใจในการทำงานของครู การสร้างสภาพแวดล้อมที่ดีและเอื้อต่อการทำงาน และ การนำเทคโนโลยีข้อมูลข่าวสารมาใช้ในการปฏิบัติงาน เป็นต้นth
dc.language.isoth
dc.publisherUniversity of Phayao
dc.rightsUniversity of Phayao
dc.subjectความผาสุกในการทำงานth
dc.subjectTeachers’ well-being in the Workplaceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.titleSituation and Guide to Promoting Teachers' well-being in the Workplace Perceived by Administrators and Teachers in School, Chiang Khong District, Under Chiang Rai Primary Educational Service Area Office 4en
dc.titleสภาพและแนวทางการเสริมสร้างความผาสุกในการทำงานของครูตามทัศนะของ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในอำเภอเชียงของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 4th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองth
Appears in Collections:School of Education

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60170116.pdf1.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.