Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/119
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Nathida Ngamta | en |
dc.contributor | ณัฐธิดา งามตา | th |
dc.contributor.advisor | Ruksit Suttipong | en |
dc.contributor.advisor | รักษิต สุทธิพงษ์ | th |
dc.contributor.other | University of Phayao. School of Education | en |
dc.date.accessioned | 2019-11-25T03:43:48Z | - |
dc.date.available | 2019-11-25T03:43:48Z | - |
dc.date.issued | 17/12/2018 | |
dc.identifier.uri | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/119 | - |
dc.description | Master of Education (M.Ed. (Educational Administration)) | en |
dc.description | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม. (การบริหารการศึกษา)) | th |
dc.description.abstract | The objectives of research were: 1) to study the academic administration, 2) to study factors affecting the academic administration, 3) to study the correlation between factors affecting the academic administration and the academic administration, 4) to analyze the multiple regression of factors affecting academic administration. The sample group were Directors and Teachers of schools under Ing-Khong campus Group, The Secondary Educationnal Area office 36. The sample group were 205 school Directors and Teachers. The research instrument was questionnaire with Factors affecting academic administration of schools. Researchers collected data manually and the statistical techniques employed in data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson Product-Moment Correlation Coefficient and Stepwise Multiple Regression Analysis. The results were as follows: 1) Most of answerer are female and teacher and they are also have an experience in school more than 15 years. 2) Academic administration of the schools were high level. 3) factors affecting of the academic administration were high level. 4) The positive relationship of the administrative factor and the academic administration were significantly at .01. 5) For the forecast of best factors, Stepwise Multiple Regression Analysis, it was found that the factors the relationship between of the community and the schools (X3), Directors (X1), Building (X4), and Teachers (X2) correlate with the factors affecting academic administration at .01 level of significantly. It showed a Stepwise Multiple Regression Analysis (R) of .865 Finally, forecast for the academic administration was at 74.80 percent. The forecast equations for the academic administration were as follows: The regression equation of raw score showed: = .645 + .254X3+ .246X1+ .195X4 + .141X2 The regression equation of standard score showed: y = .329Zy(X3)+ .299Zy(X1) + .203Zy(X4) + .143Zy(X2) | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการ 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการกับการบริหารงานวิชาการ 4) เพื่อสร้างสมการพยากรณ์การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36 สหวิทยาเขตอิงโขง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบไปด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ซึ่งมี 11 สถานศึกษา จำนวน 205 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามเพื่อการวิจัย เรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารวิชาการของสถานศึกษา โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและได้นำข้อมูลมาวิเคราะห์ผลทางสถิต ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ตำแหน่งครูผู้สอน และมีประสบการณ์การทำงานในสถานศึกษามากกว่า 15 ปีขึ้นไป 2) การบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา พบว่า มีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการทั้ง 6 ด้านมีระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการอยู่ในระดับมาก 4) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลกับการบริหารงานวิชาการ พบว่า มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการที่มีความสัมพันธ์กับการบริหารงานวิชาการมากที่สุดคือ ความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน ซึ่งมีความสัมพันธ์กันทางบวก ในระดับค่อนข้างสูง 5) การสร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ซึ่งมีปัจจัยด้านความสัมพันธ์ระหว่างสถานศึกษากับชุมชน (X3) ปัจจัยด้านผู้บริหารสถานศึกษา (X1) ปัจจัยด้านความพร้อมเกี่ยวกับสถานที่ (X4) และปัจจัยด้านครูผู้สอน (X2) ที่เป็นตัวแปรพยากรณ์ที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาที่ดีที่สุด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (R) มีค่าเท่ากับ .865 สัมประสิทธิ์การพยากรณ์ (R2) เท่ากับ .748 หรือมีอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 74.80 สร้างสมการพยากรณ์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษา ได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ = .645 + .254X3+ .246X1+ .195X4 + .141X2 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน y = .329Zy(X3)+ .299Zy(X1) + .203Zy(X4) + .143Zy(X2) | th |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | University of Phayao | |
dc.rights | University of Phayao | |
dc.subject | ปัจจัยที่ส่งผล | th |
dc.subject | การบริหารงานวิชาการ | th |
dc.subject | academic administration | en |
dc.subject | factors affecting | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.title | Factors affecting academic administration of schools under Ing-Khong campus Group, The Secondary Educationnal Area office 36. | en |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารงานวิชาการของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 สหวิทยาเขตอิงโขง | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง | th |
Appears in Collections: | School of Education |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59207654.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.