Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1186
Title: | Carbon Footprint Evaluation from Alternative Construction Materials of Residence Wall การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผนังอาคารพักอาศัยจากวัสดุก่อสร้างทางเลือก |
Authors: | Aphicha Sojindarmanee อภิชา โซ่จินดามณี Somanat Somprasert โสมนัส สมประเสริฐ University of Phayao Somanat Somprasert โสมนัส สมประเสริฐ somanat.so@up.ac.th somanat.so@up.ac.th |
Keywords: | ก๊าซเรือนกระจก ผนังอาคารพักอาศัย วัสดุทางเลือก คาร์บอนฟุตพริ้นท์ Greenhouse gas Residence Wall Alternative material Carbon Footprint |
Issue Date: | 29 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This research aims to study the carbon footprint evaluation from alternative construction materials of residence wall. The research evaluates brick wall and lightweight concrete wall by using IPCC (2006) computation. Business to Business: B2B is used to determine the framework of this evaluation. It was found that greenhouse gas emission of brick wall is 58.23 kgCO2eq and lightweight concrete wall is 37.25 kgCO2eq per square meter. Greenhouse gas emission of lightweight concrete wall is less than brick wall 20.98 kgCO2eq. per square meter. This research shows that alternative construction materials and lightweight construction materials help to decrease transportation of the construction materials. And greenhouse gas emission also decreases. However, this research evaluates only greenhouse gas emission of materials of residence wall which the living and demolition aren’t evaluated in this research. การประเมินคาร์บอนฟุตพริ้นท์ผนังอาคารพักอาศัยจากวัสดุก่อสร้างทางเลือก ได้ทำการประเมินผนังอาคารที่เป็นผนังอิฐมอญ และผนังอิฐมวลเบา โดยใช้วิธีการคำนวณตามคู่มือ IPCC (2006) และกำหนดขอบเขตของการประเมินแบบ Business to Business : B2B ซึ่งทำการประเมินในขั้นการได้มาซึ่งวัตถุดิบและขั้นการผลิต จากการศึกษาพบว่า ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผนังอิฐมอญมีค่าการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเท่ากับ 58.23 kgCO2eq. และปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผนังอิฐมวลเบามีค่าเท่ากับ 37.25 kgCO2eq. ต่อพื้นที่ผนัง 1 ตารางเมตร ซึ่งปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของผนังอิฐมวลเบามีค่าน้อยกว่าผนังอิฐมอญถึง 20.98 kgCO2eq. ต่อผนัง 1 ตารางเมตร จากผลการศึกษาของงานวิจัยนี้ แสดงให้ถึงความจำเป็นในการคำนึงถึงการเลือกใช้วัสดุก่อสร้างทางเลือก รวมถึงวัสดุก่อสร้างที่มีน้ำหนักเบาทำให้สามารถลดรอบของการขนส่งวัสดุก่อสร้างลงได้ ส่งผลให้ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมีค่าลดลงตาม แต่อย่างไรก็ตามงานวิจัยนี้ได้ทำการประเมินเฉพาะปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกของการก่อสร้างผนังอาคารพักอาศัยเท่านั้น ยังไม่รวมถึงการอยู่อาศัยและการรื้อถอนของผนัง |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1186 |
Appears in Collections: | School of Energy and Environment |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61145502.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.