Please use this identifier to cite or link to this item:
http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1171
Title: | A Development of Alternative Energy Management to Support future Smart Grid Technology in the Upper Southern Area การพัฒนารูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน |
Authors: | Rattaset Chamchure รัตน์เศรษฐ์ จามจุรี Watchara Wongpanyo วัชระ วงค์ปัญโญ University of Phayao Watchara Wongpanyo วัชระ วงค์ปัญโญ watchara.wo@up.ac.th watchara.wo@up.ac.th |
Keywords: | การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการ นวัตกรรมเทคโนโลยีในอนาคต โครงข่ายไฟฟ้าอัจฉริยะแบบผสมผสาน Management Model Development Future Innovative Technology Smart Grid Networks |
Issue Date: | 13 |
Publisher: | University of Phayao |
Abstract: | This study aimed to investigate eclectic electrical energy management model of smart grid system in the upper southern region and to develop alternative energy source management model in order to support future smart grid technology in the upper southern region. This qualitative study was contributed by 20 advisors and experts with energy administration experience from The Electricity Generating Authority of Thailand, the Regional Electricity Authority, Ministry of Energy, Prince of Songkhla University, Thaksin University, Rajamangala University of Technology Srivijaya (Trang and Khanom Campuses), and private administrators who responded to an in-depth interview and evaluation with approved future innovative technology management model of eclectic smart grid system. The results indicated that alternative energy source management model was composed of 1) energy management in the upper southern region, 2) smart grid technology management, 3) eclectic energy management, and 4) alternative energy source management model in order to support future smart grid technology in the upper southern region. Among each 5-point scale component of the alternative energy source management model, Generation, Transmission, and Distribution System Development component achieved 4.27, Support for Higher User Demand = 4.40, Impact of Alternative Energy on the Environment = 4.17, Embedded Electronic System = 4.58, Automated Control System = 4.24, IT and Communication = 4.37, Coal Power Plant = 4.35, Solar Power Plant = 4.46, Wind Power Plant = 4.41, Alternative Energy Source Management Model in Order to Support Future Smart Grid Technology = 4.29, Energy Management Model = 4.12, Smart Grid Technology Management = 4.24. In order to develop alternative energy source management model in order to support future smart grid technology in the upper southern region, the country’s energy policy remains a vital instrument for sustainable and efficient energy development among communities, households, businesses and industries to meet electricity consumers’ needs through technologies and to serve as an energy administration guideline for government sectors as well as for the benefits of other involved sectors. การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการจัดการไฟฟ้าแบบผสมผสานของระบบสมาร์ตกริดของพื้นที่ภาคใต้ตอนบนและเพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบนโดยผู้วิจัยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยคัดเลือกผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญผู้ที่มีความรู้ด้านพลังงานโดยเฉพาะได้แก่ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค กระทรวงพลังงาน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยและผู้บริหารภาคเอกชน จากการตอบแบบสอบถาม เชิงลึก และการตรวจสอบ ประเมิน รับรองรูปแบบการบริหารจัดการนวัตกรรมเทคโนโลยีอนาคตของระบบสมาร์ตกริดแบบผสมผสาน จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) รูปแบบการจัดการไฟฟ้าแบบผสมผสานของระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน มีองค์ประกอบดังนี้ 1) การบริหารจัดการพลังงานในพื้นที่ภาคใต้ตอนบน 2)การจัดการเทคโนโลยีสมาร์ตกริด 3) ด้านการจัดการพลังงานแบบผสมผสาน 4)รูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน (2) รูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน จากคะแนนเต็ม 5 ของแต่ละองค์ประกอบดังนี้คือ 1) องค์ประกอบด้านการพัฒนาระบบผลิตระบบส่งและระบบจำหน่าย 4.27 2.) องค์ประกอบด้านการรองรับความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มสูงขึ้น 4.40 3.)องค์ประกอบด้านด้านสิ่งแวดล้อมจากการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนในภาพรวม 4.17 4)องค์ประกอบด้านระบบอิเล็กทรอนิกส์แบบฝังตัว 4.28 5.)องค์ประกอบด้านระบบควบคุมอัตโนมัติ 4.24 6) องค์ประกอบด้านสารสนเทศและการสื่อสาร 4.37 7)องค์ประกอบด้านโรงไฟฟ้าถ่านหิน 4.35 8.) องค์ประกอบด้านโรงไฟฟ้าโซล่าเซล 4.46 9.) องค์ประกอบด้านโรงไฟฟ้าพลังงานลม 4.23 10) องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคต 4.29 11) องค์ประกอบของรูปแบบการจัดการพลังงาน 4.24 12)องค์ประกอบด้านการจัดการเทคโนโลยีสมาร์ตกริด 4.30 ในการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบนเป็นเครื่องมือที่สำคัญในการพัฒนาประเทศให้เกิดความยั่งยืนโดยเพิ่มศักยภาพในระบบการจัดการพลังงานให้มีประสิทธิภาพสามารถนำไปประยุกต์ใช้เพื่อยกระดับให้ทันสมัยขึ้นเป็นการพัฒนารูปแบบการจัดการแหล่งพลังงานทดแทนเพื่อรองรับระบบสมาร์ตกริดเทคโนโลยีในอนาคตของพื้นที่ภาคใต้ตอนบน และเป็นแนวทางในการบริหารพลังงานของภาครัฐ สร้างความเป็นธรรมและเกิดความสมดุลอันเป็นแนวทางการแก้ไขที่ตรงจุดจะเป็นประโยชน์กับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องได้อย่างยั่งยืนต่อไป |
URI: | http://202.28.20.112/dspace/handle/123456789/1171 |
Appears in Collections: | School of Energy and Environment |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
59141392.pdf | 8.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.